Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Rh Negative (weak D)with pregnancy (ผลกระทบ (ทำให้เม็ดเลือดแดงของทารกแตกเป…
Rh Negative (weak D)with pregnancy
สาเหตุ
หากมารดามีหมู่เลือดแบบ Rh - สามีมีหมู่เลือดแบบ Rh+ หากลูกที่เกิดมามีหมู่เลือดแบบ Rh+
ในครรภ์แรกเลือดมีการปนเปื้อนเข้าสู่เลือดมารดาทำให้กระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของมารดาสร้างเเอนติบิดี้ต่อแอนติเจน RhD ซึ่งในครรภ์แรกจะสร้างแอนติบิดี้อายุสั้น IgM ไม่สามารถผ่านรกผ่านไปสู่ทารกในครรภ์ได้ แต่หลังจากนั้นร่างกายมารดาจะสร้างแอนติบอดี้ระยะยาว IgG เพิ่มขึ้นโดย IgG นี้สามารถผ่านรกได้ จีงส่งผลตาิทารกทำให้เม็ดเลือดแดงเเตกและเกิดภาวะซีดได้ หากในครรภ์ที่สองของมารดาที่มีหมู่เลือดแบบ Rh- แต่มีลูกที่มีหมู่เลือดแบบRh- เช่นเดียวกันก็ไม่มีปัญหาเกิดขึ้น
ผลกระทบ
ทำให้เม็ดเลือดแดงของทารกแตกเป็นอันตรายถึงชีวิตได้
ทารกมีผื่นแดงบริเวณหน้าอก
เกิดภาวะซีด
Hct = 66vol%
ภาวะทารกบวมน้ำ
การรักษา
ในกรณีที่แม่ไม่เคยมีสารต่อต้านในร้างกายมาก่อน
แพทย์จะให้สารยับยั้งการทำงานของสารต่อต้าน Rh+ เมื่ออายุครรภ์ 28 สัปดาห์ และอายุครรภ์ 40 สัปดาห์หากยังไม่คลอด และให้อีกครั้งหลังจากคลอด 72 ชั่วโมง
มารดาได้รับ Immunuglobulin
ระหว่างช่วงตั้งครรภ์
แพทย์จะเจาะน้ำคร่ำเพื่อตรวจเลือดของทารก
หากเป็น Rh+ ก็จะมีการตรวจสอบปฏิกิริยาต่อต้านของเลือดของแม่เป็นระยะๆ
ในกรณีที่แม่เคยมีสารต่อต้านในร้างกายมาก่อน
สารยับยั้งจะไม่ช่วยแม่
แพทย์จะไม่ให้สารยับยั้งแต่จะใช้วิธีการตรวจเลือดแทนเพื่อรักษารูปแบบอื่นต่อไป
การเข้ากันของกลุ่ม Rh
การเข้ากันของหมู่ Rh
FM Rh- , M Rh- ไม่มีปัญหา FM Rh+ , M Rh+ ไม่มีปัญหา FM Rh+ M Rh- /+ ไม่มีปัญหา FM Rh- , M Rh+ B Rh+เฝ้าระวัง
FM Rh-, M Rh+ เป็นภาวะที่ต้องเฝ้าระวัง เเต่เนื่องจากมารดารายนี้เลือดไม่มีภูมิต่อ Rh จึงสามารถปเองกันได้โดย Rh immunoglobulin
การป้องกัน
แนะนำให้สามีและภรรยาที่วางแผนจะมีบุตร ทั้งคู่ควรจะเข้ารับการตรวจเลือดอย่างละเอียดเสียก่อนโดยเฉพาะ หมู่เลือดระบบอาร์เอชด้วย (Rh system)
มารดาและสามีได้รับการตรวจเลือด แต่เนื่องจากมีความต้องการที่จะมีบุตร