Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5906510043 กัสมา สะ 54367088_1042930412574160_3999479795212615680_o…
5906510043 กัสมา สะ
บทที่ 7
แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ทางการศึกษา
ความหมายแหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ทางการศึกษา
“แหล่งเรียนรู้” หมายถึง “แหล่ง” หรือ “ที่รวม” ซึ่งอาจเป็นสภาพ สถานที่ หรือศูนย์รวมที่ประกอบด้วย ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ และกิจกรรมที่มีกระบวนการเรียนรู้
การก่อเกิดของเครือข่ายอาจพิจารณาได้ 2 ทาง คือ
เครือข่ายโดยการจัดตั้งขึ้น
เครือข่ายที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
แหล่งการเรียนรู้
สามารถแบ่งได้ประเภทของแหล่งการเรียนรู้ไว้ 2 แบบ
จัดตามลักษณะของแหล่งการเรียนรู้
1.1 แหล่งการเรียนรู้ตามธรรมชาติ
1.2 แหล่งการเรียนรู้ที่มนุษย์สร้างขึ้น
1.3 บุคคล
จัดตามแหล่งที่ตั้งของแหล่งการเรียนรู้
2.1 แหล่งการเรียนรู้ในโรงเรียน
2.2 แหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
แนวทางการบริหารจัดการและพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 4 ขั้น ดังนี้
ขั้นการธำรงรักษาเครือข่ายการเรียนรู้ (learning network maintaining)
2.ขั้นการจัดระบบบริหารเครือข่ายการเรียนรู้ (learning network organizing)
ขั้นการใช้เครือข่ายการเรียนรู้(learning network utilizing )
1.ขั้นการก่อรูปเครือข่ายการเรียนรู้ (learning network forming)
ตัวอย่างเครือข่ายการเรียนรู้
เครือข่ายไทยสาร
สคูลเน็ต (SchoolNet)
เครือข่ายยูนิเน็ต (UNINET)
เครือข่ายกระจายเสียงวิทยุ อสมท.
บทที่ 6 รูปแบบและกลยุทธ์
การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา
ความหมายของนวัตกรรมการศึกษา
“นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation )” หมายถึง นวัตกรรมที่จะช่วยให้การศึกษา และการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม
การศึกษายุค 4.0
Education 1.0
Learner as Receptacles of knowledge
ผู้เรียนเป็นผู้รับความรู้จากผู้สอนเพียงอย่างเดียว
Education 3.0 Learner as Connectors, Creators and Constructivists
ผู้เรียนเป็น ผู้เชื่อมโยง ผู้สร้างสรรค์ และสร้างองค์ความรู้
Education 2.0
Learner as Communicating, Connecting, Collaborating and Co-creating
ผู้เรียนเป็น ผู้สื่อสาร เชื่อมโยง ร่วมมือ และร่วมสร้างสรรค์
Education 4.0
Learner as lnnovation and Producing education
ผู้เรียนเป็น ผู้สร้างนวัตกรรม และ การศึกษาที่สร้างผลผลิต
กระบวนทัศน์การจัดการศึกษาศตววรรษที่ ๒๑
เน้นที่กระบวนการเรียนรู้มากกว่าความรู้
ครูไม่ใช่ผู้ที่มอบความรู้เพียงอย่างเดียว
ครูเป็นผู้ออกแบบกระบวนการเรียนรู้พร้อมกับผู้เรียน
เป้าหมายของการเรียนรู้ไม่ใช่ที่ตัวความรู้
แหล่งเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้ สามารถเปิดกว้างได้อย่างไร้ขีดจำกัด
บทที่ 4
ทฤษฎีการออกแบบ การสร้างและการประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจทฤษฎีการออกแบบและการสร้างนวัตกรรมทางการศึกษาและนักเรียนสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาได้
องค์ประกอบของนวัตกรรมการเรียนรู้
วัตถุประสงค์
แนวคิดพื้นฐาน
โครงสร้างหรือขั้นตอนการใช้
ในวงการการศึกษามีการนำเอานวัตกรรมมาใช้ เรียกว่า “นวัตกรรมการศึกษา” (Educational Innovation) ซึ่งในวงการศึกษามีคำเกี่ยวกับนวัตกรรมอยู่ 3 คำ ได้แก่
นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation) หมายถึง สิ่งใหม่ที่นำมาใช้ในการจัดการศึกษา
นวัตกรรมการเรียนการสอน (Instructional Innovation) หมายถึง สิ่งใหม่ ที่นำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
นวัตกรรมการเรียนรู้ (Learning Innovation) หมายถึง สิ่งใหม่ที่นำมาใช้ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
เป้าหมายของนวัตกรรมทางการศึกษา
เพื่อทำให้การเรียนรู้บรรลุเป้าหมายทางการศึกษาที่วางไว้
เพื่อให้การจัดการศึกษามีประสิทธิภาพบรรลุเป้าหมายได้ดีขึ้น
เพื่อแก้ปัญหาการเรียนรู้ที่เกิดขึ้น
องค์ประกอบในการจัดทำนวัตกรรม
ตรงตามความความจำเป็นในการแก้ปัญหา
จัดการนำสู่ผลได้จริง
มีความรู้ รู้จุดเด่น ต้นทุน คุณภาพ ฝีมือเดิม และสังเคราะห์ได้
ผลที่ได้มีคุณค่า
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมด้านวิธีการจัดการเรียนการสอน
นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร
นวัตกรรมด้านการวัดและการประเมินผล
นวัตกรรมด้านสื่อการสอน
นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ
ตัวอย่างสื่อการสอน/นวัตกรรมการสอน
ภาษาไทย ประถม วงล้อผันคำ
นิทานฝึกอ่านสระลดรูป-เปลี่ยนรูป
บทที่ 5 การประเมินและ
การปรับปรุงนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของการประเมินผลสื่อการเรียนรู้
การประเมินผลสื่อการเรียนรู้ หมายถึง การนำเอาผลการวัดและประเมินสื่อการเรียนการสอนมาตีความหมาย ( Interpretation ) และ ตัดสินคุณค่า ( Value Judgment ) เพื่อที่จะรู้ว่าสื่อนั้นทำหน้าที่ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ได้แค่ไหน มีคุณภาพดีหรือไม่เพียงใด มีลักษณะถูกต้องตามที่ต้องการหรือไม่ประการใด
ความสำคัญของการประเมินผลสื่อการเรียนรู้
1.ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนรู้ของผู้เรียนและคุณภาพของการเรียนการสอน
2.ได้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณภาพของสื่อการเรียนรู้
3.เกิดการพัฒนาการใช้สื่อการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพและมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
วิธีการประเมินผลสื่อการเรียนรู้
การประเมินโดยผู้สอน
การประเมินโดยผู้ชำนาญ
การประเมินโดยคณะกรรมการเฉพาะกิจ
การประเมินผลโดยผู้เรียน
การประเมินประสิทธิภาพของสื่อ
การประเมินผลโดยตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบความถนัดเพื่อวัดสมรรถนะของผู้เรียน
แบบสอบถาม
การสังเกตเป็นการเฝ้าดูผลที่เกิดขึ้นจากการใช้สื่อการสอน
การสัมภาษณ์เป็นการซักถามและพูดคุยกับทั้งผู้ผลิต ผู้ใช้และผู้เรียน
: