Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสภาพ Premature Rupture of Membranes (กลไกเกี่ยวกับการสร้าง…
พยาธิสภาพ
Premature Rupture of Membranes
กลไกเกี่ยวกับการสร้าง Prostaglandin
อาศัยปฏิกิริยาของน้ำคร่ำ และ Chorionic Phospholipase A2
Hydrolyzes Phospholipid
ในเนื้อเยื่อรก
ทำให้เกิด Free
Arachidonic มากขึ้น
มีการสังเคราะห์ Prostaglandin
การสร้าง Prostaglandin ที่ชักนำไปเกิดถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์
ภาวะติดเชื้อแบคทีเรียไปทำให้ Phospholipase A2 มีแอดตี้เวทขึ้นจนเป็นเหตุ
ให้มีการสังเคราะห์
Prostaglandin
ออกมา
สาร Interleukin-1 ในตัวแม่จะผลิต
Prostaglandin
E2 ออกมา
ปริมาณ Endotoxin ที่เข้มข้นของเชื้อแบคทีเรียทะลุ Chorion เข้าไปยัง Amnion และ Endotoxin นี้สังเคราะห์และปล่อยเอนไซม์ที่สามารถแยก Arachidonic â ออกจากเยื่อหุ้มเด็กได้เป็น Free Arachidonic â ทำให้มีการสังเคราะห์
Prostaglandin
ขึ้น
กลไกเกี่ยวกับสารคอลลาเจน
เยื่อหุ้มเด็กระหว่างด้าน Amnion และ Chorion จะมีเนื้อเยื่อเกี่ยวพันบรรจุอยู่
ในไตรมาส 3 ของการตั้งครรภ์
ด้าน Amnion มีเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่เป็น
คอลลาเจนชนิดที่ 3 น้อยลง
คือหนาประมาณ 0.05 – 0.11 มม.
แรงต้านการยืดตัวของเยื่อหุ้มเด็กจะลดลงเมื่ออายุครรภ์เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ คอลลาเจนที่ 3 ของด้าน Chorion จะลดลงเรื่อยๆ เช่นกัน
กรณีศึกษา ทารกในครรภ์มีส่วนนำเป็นท่าก้น ทำให้ส่วนนำผิดที่ส่วนล่างของเชิงกรานไม่สนิท เกิดเแรงดันเกิดขึ้นในโพรงมดลูด แรงดันนั้นทำให้ถุงน้ำคร่ำส่วนล่างบางและถุงน้ำคร่ำแตกได้
กลไกของระบบ Antimicrobial
เมื่อมีการติดเชื้อเกิดขึ้นเม็ดเลือดขาวชนิด Macrophage ของเยื่อ Amnion Chorion จะออกมาจับกินเชื้อแบคทีเรียมาก
ให้เกิดการไฮโดรไลต์ของโปรตีนในเนื้อเยื่อหุ้มเด็กถูกไฮโดรไลต์โปรตีนออกไปมากขึ้น
ทำให้ผนังเยื่อหุ้มเด็กอ่อนแอลง
เกิดการแตกรั่วในที่สุด