Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Premature Rupture of membranes (สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง (7…
Premature Rupture of membranes
ความหมาย
การมีถุงน้ำคร่ำรั่วหรือแตกก่อนเริ่มมีการเจ็บครรภ์ อย่างน้อย 1 ชั่วโมงโดยไม่จำกัดอายุครรภ์ เรียกว่า PROM
การรั่วหรือการแตกของถุงน้ำคร่ำ GA < 37 wks. เรียกว่า " PPROM"
กรณีศึกษามีถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเจ็บครรภ์
และอายุครรภ์ 32+5 wks.
การรั่วหรือการแตกของถุงน้ำคร่ำ GA > 37 wks. เรียกว่า PROM
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนคลอดนานเกิน 24 ชม. เรียกว่า " Prolonged rupture of membranes"
กรณีศึกษามีถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเจ็บครรภ์ ซึ่งเริ่มแตกตั้งแต่เวลา 20.30 น (20/11/62)ถึง เวลา ุ6.40 น (22/11/62) รวมระยะเวลาประมาณ 34 ชม. ก่อนคลอด
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
1.การอักเสบติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ (Chorioamnionitis) ที่เกิดก่อนแล้ว อาจเกิดจากเชื้อแบคทีเรียหรือไวรัส
2.มีการอักเสบติดเชื้อที่ปากมดลูกหรือช่องคลอด เช่น สเตปโตคอดคัส กลุ่ม บี ซึ่งเป็นสาเหตุของการติดเชื้อตั้งแต่ในระยะตั้งครรภ์
ครรภ์แฝด และครรภ์แฝดน้ำ ทำให้มดลูกมีความตึงตัวสูงจึงอาจทำให้ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
4.การทำหัตถการบางอย่าง เช่น
การเจาะถุงน้ำคร่ำ
5.รกลอกตัวก่อนกำหนด หรือรกเกาะต่ำ
ุ6.ปากมดลูกปิดไม่สนิทหรือปากมดลูกสั้น
7.ทารกในครรภ์อยู่ในท่าที่ผิดปกติ เช่น ท่าก้อน ท่าขวาง ส่วนนำ หรือ ศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับเชิงกรานมารดา ทำให้สัดส่วนนำผิดที่ส่วนล่างของเชิงกรานไม่สนิท เมื่อมีแรกดันเกิดขึ้นในโพรงมดลูก แรงดันนั้นจะผ่านมาที่ถุงน้ำคร่ำส่วนล่างทำให้ถุงน้ำคร่ำแตกได้
กรณีศึกษา ผล U/S พบ breech presentation
8.ปัจจัยส่วนบุคคลหรือพฤติกรรมของสตรีตั้งครรภ์ เช่น เศรษฐานะต่ำ สูบบุหรี่มากกว่า 20 มวน/วัน รับประทานอาหารไม่ถูกต้อง ขาดสารอาหาร
อาการและอาการแสดง
มีน้ำใสๆ ไหลออกทางช่องคลอด
โดยไม่มีอาการเจ็บครรภ์
อาจไหลซึมตลอด เวลาหรือหยุดไหลแล้ว
กรณีศึกษามีบอกว่ามีน้ำไหลซึมออกมาและยังไม่หยุดไหล จนถึงก่อนคลอด
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
มีประวัติน้ำไหลออกจากทางช่องคลอด
กรณีศึกษาให้ประวัติว่ามีน้ำไหลออกมา
สีใส ทางช่องคลอด
การตรวจร่างกาย
การใช้ speculum examination พบมีน้ำขังอยู่บริเวณแอ่งหลังของช่องคลอด (posterior fornix) หรือเมื่อกดบริเวรยอดมดลูกลงมาพร้อมกับให้ผู้คลอดเบ่งหรือไป (cough test) จะเห็นน้ำไหลออกจากปากมดลูก
กรณีศึกษาผล Cough test positive
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
nitrazine paper tes
t หลักว่าน้ำในช่องคลอด pH 4 5-6 pH ของน้ำคร่ำ 7-7 5 กระดาษเปลี่ยนสีจากเหลืองเป็นน้ำเงิน
กรณีศึกษา มีผลการทดสอบ พบ pH 7 5 เปลี่ยนจากสีเหลืองเป็นน้ำเงิน
Fern test
ถ้าเป็นน้ำคร่ำจะเห็นผลึกเป็นรูปใบเฟิร์นบนสไลด์
การทดลอบไนบลู
เป็นการตรวจดูเซลล์ไขมันของทารกในครรภ์
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมารดา
มีโอกาสติดเชื้อในโพรงมดลูกและถุงน้ำคร่ำ
ถุงน้ำคร่ำอักเสบ
การติดเชื้อที่เยื่อบุโพรงมดลูดหลังคลอด
การติดเชื้อในกระแสเลือด
เพิ่มอุบัติการณ์ผ่าตัดคลอด
กรณีศึกษา C/S
ต่อทารก
ภายหลังถุงน้ำคร่ำแตก Decidua จะสร้าง prostaglandin เพิ่มขึ้นกระตุ้นให้เกิดการเจ็บครรภ์คลอด
ส่งผลให้ทารกในครรภ์อาจเกิดการคลอดก่อนกำหนด
กรณีศึกษามีการเจ็บครรภ์คลอดและคลอดก่อนกำหนด GA 33 wks
อาจเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น RDS เลือดออกในสมอง ปอดขยายได้น้อย ทำงานไม่ดี การติดเชื้อในกระแสโลหิต สายสะดือถูกกด สายสะดือพลัดต่ำ
ตัวหนังสือสีแดง หมายถึง กรณีศึกษา