Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Condyloma acuinate 77410284_1817624238536066_3513643033243418624_n :…
Condyloma acuinate :
ระยะฟักตัก
ประมาณ 3 สัปดาห์ ถึง 8 เดือน โดยเฉลี่ย 2-3 เดือน ผู้หญิงที่ตั้งครรภ์มีโอกาสติดเชื้อและมีอาการมากกว่าคนที่ไม่ได้ตั้งครรภ์
-
-
-
อาการและอาการแสดง
-
หูดหงอนไก่จะมีลักษณะเป็นติ่งเนื้องอกอ่อนๆ สีชมพูลุกลามได้รวดเร็วจนมีลักษณะคล้ายหงอนไก่หรือดอก กะหล่ํา และมีการแตกกิ่งก้านออกไปจากจุดเริ่มต้น ลักษณะนุ่ม
-
การวินิจฉัยโรค
ตรวจร่างกายพบรอยหูดหงอนไก่(condyloma acuminate) ซึ่งต้องแยกจากcondyloma lata (หูดซิฟิลิส) ที่มีผิวด้านบนเรียบเสมอ
การตรวจพิเศษ
-
การใช้เทคนิค acetowhite โดยใช้น้ําส้มสายชู (5% acetic acid) ทาบริเวณที่สงสัยน้ําส้มสายชูจะเปลี่ยนผิว หรือเยื่อบุที่มีไวรัสให้เป็นสีขาวเห็นชัดเจนขึ้น อ่านผลการตรวจเป็นบวก
-
-
การรักษา
ทารอยโรคด้วย 80% trichloro acetic acid หรือ bichloro acetic acid ทุก 7-10 วัน ร่วมกับการจี้ด้วย
ความเย็น (crytotherapy)
-
ตรวจภายในเพื่อทํา Pap smear ดูการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ปากมดลูก เมื่อมีเชื้อไวรัสเข้าสู่ร่างกายแล้ว
อาจทําให้เกิดมะเร็งปากมดลูกได้
ไม่ใช้ podophyllin 25% ทาภายนอกที่ตัวหูดในสตรีตั้งครรภ์เพราะยาอาจดูดซึมเข้าสู่ร่างกายและเป็นพิษ ต่อทารกในครรภ์ได้
-
-
การดูแล
ระยะคลอด
ถ้าหูดหงอนไก่ยังมีขนาดเล็กอยู่ ไม่ขัดขวางหนทางคลอด ให้คลอดทางช่องคลอดได้เพราะโอกาสเสี่ยงต่อ การติดเชื้อในทารกแรกเกิดมีน้อยมาก
ถ้าหูดหงอนไก่มีขนาดใหญ่เมื่อเข้าสู่ระยะคลอดให้ทําผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง เพื่อหลีกเลี่ยงการตกเลือด และการคลอดติดขัด
ระยะหลังคลอด
. เน้นการดูแลความสะอาดของอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกให้มาก เนื่องจากหลังคลอดจะมีน้ําคาวปลาไหล ทํา ให้มีความอับชื้นมากขึ้น โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคมากขึ้น
-
-
-
ระยะตั้งครรภ์
-
-
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์และสามีเข้าใจสาเหตุของการเกิดรอยโรค การดูแลรักษา ตลอดจนการป้องกันการ สัมผัสโรค ในขณะมีเพศสัมพันธ์โดยการใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้ง
-