Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Power (Poor bearing down effort แรงเบ่งไม่พอ (สาเหตุ (ผู้คลอดได้รับยาสล…
Power
Poor bearing down effort แรงเบ่งไม่พอ
สาเหตุ
ผู้คลอดได้รับยาสลบ
ผู้คลอดใช้ยาชาเฉพาะที่
ท่าเบ่งไม่เหมาะสม
เบ่งไม่ถูกวิธีหรือเบ่งไม่เป็น
ได้รับยาแก้ปวดในปริมาณมาก
ผู้คลอดหมดแรง
ผู้คลอดเจ็บครรภ์มาก
ผู้คลอดอ้วนมาก
ผู้คลอดมาพยาธิสภาพ เช่น โรคหัวใจ ซีดมาก เป็นต้น
ผลกระทบ
วิตกกังวล หวาดกลัว
ทารกเกิดภาวะพร่องออกซิเจน
ผู้คลอดอ่อนเพลีย หมดแรง
การคลอดยาวนาน
การพยาบาล
ไม่ให้ผู้คลอดเบ่ง
ถ้าปากมดลูกยังเปิดไม่หมด
ดูแลให้ได้รับสารน้ำเพียงพอ
สอนวิธีการเบ่งที่ถูกวิธี
ในระยะเบ่งคลอด
มีการกระตุ้นเชียร์เบ่ง
ให้เบ่งทุกครั้งที่มดลูกหัดรัดตัว
ผู้คลอดที่มีพยาธิสภาพ
แพทย์อาจใช้หัตถการช่วยคลอด
อธิบายให้คลายวิตกกังวล
หากการคลอดยาวนาน รายงานแพทย์ เพื่อใช้หัตถการช่วยคลอด
ประเภท
Uterine contraction
Bearing down effort
Uterine dysfunction มดลูกหดรัดตัวผิดปกติ
Hypotonic uterine dysfunction มดลูกหดรัดตัวน้อยกว่าปกติ
ผลกระทบ
เกิดการคลอดยากในระยะที่1 ปากมดลูกเปิดช้า
เกิดการคลอดยากในระยะที่2 แรงในการผลักดันเด็กไม่พอ
การคลอดยาวนาน ทำให้ ผู้คลอดอ่อนเพลีย น้ำคร่ำแตกทำให้ติดเชื้อ
ตกเลือดหลังคลอด
การพยาบาล
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ทุก 30 นาที
จัดท่าให้นอนศีรษะสูง
กระตุ้นในปัสสาวะทุก 2-4 ชม
หากอุจจาระเกิน 12 ชม. กระตุ้นหรือสวนอุจจาระ
ดูแลให้ได้รับสารน้ำเพียงพอ
รายงานแพทย์ เพื่อให้ยากระตุ้นการหดรัดของมดลูก
ระยะหลังคลอด observe การหดรัดตัวของมดลูก
สาเหตุ
กล้ามเนื้อมดลูกยืดขยายผิดปกติ เช่น ครรภ์แฝด ครรภ์แฝดน้ำ ทารกตัวโต เคยคลอดมาแล้วหลายครั้ง
ขาดการกระตุ้น Ferguson's reflex เช่น CPD ส่วนนำผิดปกติ bladder full
ได้รับยาแก้ปวด หรือยาสลบ
มารดามีความเครียดและวิตกกัลวล
เจ็บครรภ์คลอดเป็นเวลานาน อ่อนเพลีย
Duration < 40 วินาที, Interval > 3 นาที ภายใน10นาที,
Intensity = Mild,Moderate หรือ แรงดันถุงน้ำคร่ำ < 15 mmHg.
Hypertonic uterine dysfunction มดลูกหดรัดตัวมากกว่าปกติ
Tetanic contraction
มดลูกหดรัดตัวมาก
ผิดปกติชนิดไม่คลาย
สาเหตุ
ไม่ได้เกิดจากการคลอดติดขัด ได้แก่ ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกไม่ถูกวิธี รกลกตัวก่อนกำหนด
การคลอดติดขัด เช่น ทารกผิดท่า CPD พบ Bandl's ring
ผลกรทบ
ทารกคลอดทางช่องคลอดไม่ได้
ผู้คลอดมีอาการเจ็บครรภ์มากกว่าปกติ
มดลูกแตก
ทารกมีโอกาศเกิดภาวะขาดออกซิเจนได้สูง
ลักษณะ
Duration > 90 วินาที
Interval < 90 วินาที
มดลูกหดรัดตัวแรกมากกว่าปกติ
การพยาบาล
จัดทาให้ผู้คลอดนอนตะแคง
ดูแลให้ผู้คลอดได้รับยาบรรเทาปวดหรือยานอนหลับ
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ทุก 15 นาที
ดูแลให้ได้รับสารน้ำเพียงพอ
ประเมิน FHS ทุก15-30 นาที
รายงานแพทย์ อาจจำเป็นต้อง C/S
Constriction ring
มดลูกหดรัดตัวมากผิดปกติ ชนิดหดรัดตัวเป็นวงแหวนบนรอยคอดของทารก
สาเหตุ
หลังจากทารกแฝดคนแรกคลอด
ให้ Oxytocin
Oligohydramnios, PROM
ผลกระทบ
ผู้คลอดเจ็บครรภ์มาก ถูกหน้าท้องไม่ได้
เกิดการคลอดตัดขัด
ระยะที่ 3 ปากมดลูกปิดก่อนคลอดรก
ลักษณะ
มดลูกหดรัดตัวแรง ไม่สม่ำเสมอ แต่มีระยะพัก
มีวงแหวนเกิดขึ้นบนรอยคอดของทารก เกิดเหนือปากมดลูก 7-8 ซม. ตรวจไม่พบทางหน้าท้อง
การพยาบาล
หยุดให้ Oxytocin,ดูแลให้ได้รับสารน้ำเพียงพอ
จัดท่านอนตะแคง ให้ออกซิเจน
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ทุก 15 นาที
ประเมิน FHS ทุก 15 นาที
ดูแลให้ยา Pethidine ตามแผนการรักษา
รายงานแพทย์ เพื่อ C/S
In-coordinated uterine dysfunction มดลูกหดรัดตัวมากผิดปกติชนิดประสานกัน
ลักษณะ
ในระยะ กล้ามเนื้อพักมดลูกคลายตัวไม่เต็มที่
มดลูดหลดรัดตัวไม่สม่ำเสมอ
มดลูกหดรัดตัวแรงมาก โดยบริเวณตอนกลางและตอนล่างของมดลูกจะหดรัดตัวก่อนและหลดรัดตัวแรงกว่าบริเวณยอดมดลูก
สาเหตุ
ประมาณร้อยละ 50 ไม่ทราบสาเหตุ
มารดามีความเครียดและวิตกกัลวล
ครรภ์แรกพบได้มากกว่าครรภ์หลัง
ผ่านการคลอดมากว่า 5 ครั้ง
ภาวะ CPD, ทารกท่าผิดปกติ
ผลกระทบ
ประสิทธิภาพในการขยายของปากมดลูดลดลง ทำให้การคลอดยาวนาน
ผู้คลอดมีอาการเจ็บครรภ์มากกว่าปกติ
ผู้คลอด อ่อนเพลียมาก
ทารกมีโอกาศเกิดภาวะขาดออกซิเจนได้สูง
การพยาบาล
จัดทาให้ผู้คลอดนอนตะแคง
ดูแลให้ผู้คลอดได้รับยาบรรเทาปวดหรือยานอนหลับ
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ทุก 15 นาที
ดูแลให้ได้รับสารน้ำเพียงพอ
ประเมิน FHS ทุก15-30 นาที
รายงานแพทย์ อาจจำเป็นต้อง C/S
ความหมาย
แรงที่ใช้ขับทาราก และรกออกจากโพรงมดลูก