Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล นางสาวอานันตา ถิ่นกาแบง 6206810078…
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
นางสาวอานันตา ถิ่นกาแบง 6206810078
ความหมาย
ข้อมูล
คือ ข้อทเ็จจริงหรือเหตุกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่างๆ เช่น คน สถานที่ สิ่งของ ซึ่งเกิดจากการสังเกต การจดบันทึก การสัมภาษณ์ การออกแบบสอบถามและการเก็บรวบรวมข้อมูลไว้
สารสนเทศ
คือ ข้อมูลที่ได้ผ่านกระบวนการประเมินผลแล้ว อาจใช้วิธีง่ายๆ เช่น หาค่าเฉลี่ยหรือใช้เทคนิคขั้นสูง เช่น การวิจัยดำเนินงาน เป็นต้น
คุณสมบัติของข้อมูล
ความถูกต้อง
ข้อมูลที่ไม่เป็นจริงอาจก่อให้เกิดความเสียหายได้ ต้องคัดเลือกข้อมูลที่ถูกต้องเท่านั้น
มีความเป็นปัจจุบัน
ข้อมูลที่ดีต้องมีการปรับปรุงแก้ไขให้มีความเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ เพราะเหตุการณ์ต่างๆมักเกิดขึ้นใหม่อยู่ตลอดเวลา
ตรงตามความต้องการ
ข้อมูลที่จะนำมาจะต้องสอดคล้องกับความต้องการมากที่สุด หากไม่สอดคล้องกับความต้องการก็ไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
ความสมบูรณ์
บางครั้งอาจเก็บข้อมูลรวบรวมมากกว่าหนึ่งครั้งเพื่อให้ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์
สามารถตรวจสอบได้
ข้อมูลที่ได้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ อาจมีทั้งเชื่อถือได้และเชื่อถือไม่ได้
แนวคิดของการใช้ฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูล
การแบ่งลำดับชั้นของการจัดการข้อมูล
บิต Bit-Binary Digit
ลำดับชั้นของหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุด ข้อมูลที่จะทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ได้ ต้องแปลงให้อยู่ในรูปของเลขฐานสอง เมื่อแปลงแล้วจะได้ตัวเลขแทนสถานะ เปิด และ ปิด
ไบต์ Byte
นำบิตมารวมกันหลายๆบิต จะได้หน่วยข้อมูลกลุ่มใหม่ที่เรียกว่า ไบต์ จำนวนบิตที่ได้ในแต่ละกลุ่มอาจมีมากบ้างหรือน้อยบ้างตามแต่ของรหัสที่ใช้กัน
ฟีลด์หรือเขตของข้อมูล Field
ประกอบด้วยกลุ่มตัวอักษรหรือไบต์ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปมาประกอบกันเป็นหน่วยข้อมูลใหญ่ขึ้นเพื่อแสดงลักษณะหรือความหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง
เรคอร์ด Record
กลุ่มของเขตข้อมูลหรือฟีลด์ที่มีความสัมพันธ์กัน และนำมาจัดเก็บรวบรวมกันเป็นหน่วยใหม่ที่ใหญ่ขึ้นเพียงหน่วยเดียว ข้อมูลที่จัดเก็บอาจมีหลายเรคอร์ดได้
ไฟล์หรือแฟ้มตารางข้อมูล File
เป็นการนำเอาข้อมูลทั้งหมดหลายๆ เรคอร์ดที่ต้องการจัดเก้บมาเรียงอยู่ในรูปแบบของแฟ้มตารางข้อมูลเดียวกัน
ฐานข้อมูล Database
การรวมแฟ้มตารางข้อมูลหลายๆ แผ้มที่มีความสัมพันธ์กันมาเก็บรวมไว้ที่เดียวกัน มีการเก็บคำอธิบายโครงสร้างฐานข้อมูลหรือเรียกว่า
พจนานุกรมข้อมูล
แหล่งข้อมูล
สถานที่หรือแหล่งที่เกิดข้อมูล สามารถแบ่งออกได้ตามประเภทได้ 2 ประเภท ได้แก่
แหล่งข้อมูลภายใน
เป็นแหล่งข้อมูลอยู่ภายในองค์กรทั่วไป เช่น ยอดขายประจำปี ข้อมูลผู้ถือหุ้น รายงานกำไรขาดทุน อาจเป็นแหล่งข้อมูลที่เปิดเผยได้หรือข้อมูลเป็นความลับ
แหล่งข้อมูลภายนอก
เป็นแหล่งกำเนิดที่อยู่ภายนอกองค์กร เช่น ข้อมูลลูกค้า เจ้าหนี้อัตรา กฎหมายและอัตราภาษีของรัฐบาล