Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Basic concepts of Reproductive Health (การให้การปรึกษาก่อนสมรส (ปรึกษา…
Basic concepts of Reproductive Health
การให้การปรึกษาก่อนสมรส
การตรวจ
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคทางกรรมพันธุ์
ภูมิคุ้มกันหัดเยอรมัน
ผลเลือด
Rh- ตั้งครรภ์แรก ฉีดยาป้องกันการสร้างภูมิต้านทานเลือด เมื่อ 7 เดือน
HB ถ้าไม่มีภูมิ ฉีดป้องกัน 3 เข็ม (0,1,6)
VDRL+ พบน้อย หายขาดได้ ทำให้ทารกหัวใจพิการ
HIV+ ต้องได้รับคำแนะนำที่ดี อาจมีผลต่อการสมรส
ไม่มีภูมิต้านทานหัดเยอรมัน ฉีดก่อนตั้งครรภ์ 3เดือน
ธารัสซีเมียการคัดกรอง
PFT คัดกรอง Alpha-thalassemia และ beta-talassemia
DCIP คัดกรอง HbE ทั้ง hertorozygote และ homozygote
ปรึกษา
ซักประวัติแยก เรื่องเกั่ยวกับเพศสัมพันธ์ การแท้ง การตั้งครรภ์ โรคติดต่อ
ตรวจวัด V/S น้ำหนักส่วนสูง
ให้คำปรึกษา,การใช้ชีวิตคู่
ฉีดHPV (16,18) ไม่ควรตั้งครรภ์หลังฉีด 8 เดือน
การคุมกำเนิด
เพศศึกษา
การเตรียมตัวก่อนตั้งครรภ์ Ca Triferdine 150
ภาวะการเจริญพันธ์ุ
ตรวจเลือด
น้ำตาลในเลือด
กรุ๊ป ABO และ Rh
ธารัสซีเมีย
HBsAG และ HBaAb
ซิฟิลิส VDRL
anti HIV
การวางแผนครอบครัวและการให้คำแนะนำ
ยาเม็ดคุมกำเนิด Oral contraception pill
ชนิดของยาเม็ดคุมกำเนิด :
1.ยาคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมนรวม combined pill มีฮอร์โมน Estrogen และ Progertogen มีชนิดแผงละ 21 , 28 เม็ด
2.ยาคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมนตัวเดียว progestogenonlt pill หรือ mini pill มีชุดละ 28 เม็ด เช่น Exluton
3.ยาเม็ดคุมกำเนิดที่มีฮอร์โมนปริมาณที่สูงหรือใช้ภายหลังการร่วมเพศ postcoital pills or morning after pills การใช้ประสิทธิภาพสูงสุดไม่เกิน 72 ชั่วโมงหลังร่วมเพศ
วิธีรับประทาน :
หากลืม 2 เม็ดในช่วงสัปดาห์ที่ 3 ให้หยุดยา และคุมกำเนิดด้วยวิธีอื่น
รับประทานภายในวันที่ 1-5 ของรอบประจำเดือน ชนิด 28 เม็ด รับประทานจนหมดแผงแล้วเริ่มแผงใหม่ทันที / ชนิด 21-22 เม็ดรับประทานหมดแผงแล้วหยุดยา 7-6 วันจึงเริ่มแผงใหม่
หากลืม 2 เม็ดในช่วงสัปดาห์แรก ให้รับประทานวันละ 2 เม็ด เช้า-เย็น ติดต่อกัน 2 วันแล้วรับประทานยาที่เหลือตามปกติ
หากลืมรับประทานยา 1 เม็ด ให้รับประทานทันทีที่นึกขึ้นได้
การคุมกำเนิด Contraception
การคุมกำเนิดแบบไม่ใช้ฮอร์โมน
1.การกำหนดระยะปลอดภัย Safe period,Rhythm medthod คุมกำเนิดโดยการงดร่วมเพศในวันที่มีการตกไข่ การตกไข่เกิดขึ้นประมาณวันที่ 14 ของเดือน การคำนวณควรบันทึกประจำเดือนอย่างน้อย 6 เดือน หารอบที่สั้นที่สุดและยาวที่สุด
2.วิธีวัดอุณหภูมิ Temparature method ควรวัดอุณหภูมิก่อนเข้านอนและตอนเช้า บันทึกเป็นเวลา 3 เดือน โดยก่อนเวลาตกไข่ 12-24 hr. อุณหภูมิร่างกายจะลดลงเล็กน้อย หลังตกไข่อุณหภูมจะเพิ่มขึ้น 0.2-0.5 องศสดังนั้นก่อนระยะที่มีไข่ตกจะต้องงดร่วมเพศจนกระทั่งไข่ตกไปแล้วอย่างน้อย 3 วัน
สังเกตมูกจากปาดมดลูก Cervical mucous method
-หลังหมดประจำเดือนใหม่ๆ จะไม่มีมูกหรือมีมูกเล็กน้อย
-ก่อนวันตกไข่ มีมูกมากขึ้น สีเหลืองหรือขาว ขุ่นๆเหนียวๆ
-ระยะตกไข่ มูกมาก ใสลื่นคล้ายไข่ขาวดิบ ยืดได้มากกว่า 6 cm.
-หลังไข่ตกใหม่ๆ มูกน้อยลง ขุ่นข้น
-ก่อนมีประจำเดือน แห้งหรือมีมูกเป็นน้ำใสๆ
Condom
ห่วงอนามัยคุมกำเนิด
ชนิด Inert ห่วงอนามัยที่ไม่มีสารช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพในการป้องกันการตั้งครรภ์คือ Lippes loop
ชนิด Active ห่วงอนามัยที่มีสารช่วยเสริมประสิทธิภาพในการป้องกันการตั้งครรภ์ ได้แก่ Copper bearing IUDซึ่งมีทองแดงอยู่ด้วย คือ Multiload 250 ใช้ได้นาน 2-4ปี Copper T และCopper7 ใช้ได้นาน 2-4ปี
การทำหมัน
ยาฉีดคุมกำเนิด
DMPA ขนาด 150 มก. ฉีดเข้ากล้ามเนื้อทุก 12 สัปดาห์
์NET-EN ขนาด 200 มก. ฉีดทุก8 สัปดาห์
ครั้งแรกควรฉีดยาภายใน5-7 วันแรกของรอบระดู
สตรีที่เหมาะสมใช้ยาฉีดคือ เลี้ยงบุตรด้วยนมแม่ ผู้ที่มีโรคบางอย่าง เช่น โรคหัวใจ และหลอดเลือด ความดันโลหิตสูง โรคไต โรคตับ ไขมันในเลือดสูง :
ข้อห้าม มีเลือดออกผิดปกติในโพรงมดลูก โรคมะเร็งของอวัยวะสืบพันธ์ุ สงสัยว่าตั้งครรภ์
ยาฝังคุมกำเนิด
ชนิดหลอดไม่สลายตัว จำนวน 6 หลอดมีฤทธฺิ็อยู่นาน 5 ปี /IMPLANT จำนวน 1 หลอดมีฤทธิ์อยู่นาน 3 ปี
ชนิดหลอดสลายตัวจำนวน 1 หลอดมีฤทธิ์อยู่นาน 18 เดือน
ภาวะการมีบุตรยาก
คือ การที่คู่สมรสไม่ได้คุมกำเนิดหรือหยุดคุมกำเนิดอย่างน้อย 1 ปีมีเพศสัมพันธ์อย่างสม่ำเสมอเป็นระยะเวลา 1 ปี แล้วไม่ตั้งครรภ์ ยกเว้นในสตรีอายุ 35 ปี ถือเวลาเพียง 6 เดือน
การรักษาด้วยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์
1.การฉีดเชื้ออสุจิที่แข็งแรง สมบูรณ์เข้าไปในโพรงมดลูก Intra Uterine Insemination (IUI) คือการคัดเชื้อที่แข็งแรงสมบูรณ์ฉีดเข้าไปในโพรงมดลูดในวันที่ตกไข่ ข้อบ่งใช้ : อสุจิไม่แข็งแรง ,มดลูกอุดตัน
2.การทำเด็กหลอดแก้ว In vitro Fertilization and Embryo Transfer หรือ IVF , ET คือการนำไข่และอสุจิมาผสมกันให้เกิดปฏิสนธินอกร่างกาย เลี้ยงตัวอ่อนจนถึงระยะ 4-8 เซลล์หรือเป็น Blastocyst จึงฉีดกลับโพรงมดลูก ข้อบ่งใช้: ท่อนำไข่อุดตันทั้ง 2 ข้าง มีพังผืดในอุ้งเชิงกราน อสุจิไม่แข็งแรง
3.การทำอิ๊กซี่ Intra Cytoplasmic Sperm Injection (ICSI) คือการคัดอสุจิที่แข็งแรง สมบูรณ์เพียงตัวเดียวฮีดเข้าไปในไข่โดยตรง ข้อบ่งใช้ : เช้ออสุจิผิดปกติมาก รังไข่ผิดปกติ ไม่มีการตกไข่
4.การทำกิ๊ฟ Gamete Intra Follopain Transfer (GIFT) คือการเกบอสุจิและไข่ผสมกันแล้วใส่กลับท่อนำไข่ทันที ให้มีการปฏิสนธิกันเองตามธรรมชาติ ข้อบ่งใช้ : เยื่อมดลูกเจริญผิดที่ มีพังผืดมาก ท่อนำไข่ปกติอย่างน้อย 1 ข้าง อสุจิอ่อนแอไม่มาก
5.การทำซิฟท์ Zygote Intrafollopian Transfer (ZIFT) คือการเก็บไข่และอสุจิมาทำการปฏิสนธินอกร่างกาย แล้วจึงนำตัวอ่อนระยะ zygote กลับไปที่ท่อนำไข่ ข้อบ่งใช้ : เชื้ออสุจิน้อยกว่าปกติ ท่อนำไข่ทำงานไม่ปกติแต่ไม่ตัน มีพังผืดมาก
6.การแช่แข็งตัวอ่อน Embryo Freezing คือมีการปฏิสนธิและการแบ่งตัวของตัวอ่อนแล้ว นำไปแช่แข็งแล้วนำกลับมาใส่มอลูกเมื่อต้องการ
การวินิจฉัยหาสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก
การตรวจวิเคราะห์น้ำอสุจิ
ลักษณะปกติ Morphology = 30% ของอสุจิทั้งหมดมีลักษณะปกติ
การมีชีวิตของตัวอสุจิ Vitality 75 %ของอสุจิทั้งหมดที่มีชีวิต
การเคลื่อนไหว motility = 50% ของอสุจิทั้งหมด เคลื่อนที่ไปข้างหน้า
ค่าความเป็นกรด - ด่าง = 7.2 -7.8
จำนวนเม็ดเลือดขาว = น้อยกว่า 1 ล้านตัว
ปริมาณ Volume/การหลั่ง 1 ครั้ง = 2 ml
จำนวนตัวอสุจิทั้งหมด Total sperm number = 40 ล้านตัว
ถ้าทำมาจากบ้าน ควรส่ง Lab ไม่เกิน30-60 นาที เก็บน้ำอสุจิใส่ขวดแก้ว/พลาสติกปากกว้างที่สะอาดไม่แช่แข็ง
งดการหลั่งน้ำอสุจิ 2-3 วันก่อนมาตรวจแต่ไม่เกิน7วัน
ความเข้มข้นของตัวอสุจิ Sperm concentration = 20 ล้านตัว / ml
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
การเจริญเติบโตและพัฒนาการทารกในครรภ์
1 wk. ตกไข่ ปฏิสนธิและเกิดการฝังตัว อยู่ในระยะ blastocyte ที่จะเจริญไปเป็นทารก
2 wk. blastocyst จะเกิดช่องว่าง 2 แห่งคือ inner cell mass และ trophoblast ต่อมาโพรงนี้จะหลายเป็นถุงน้ำคร่ำ amniotic cavity และช่องว่างที่เป็น biastocele กลายเป็น primitive yolk sac ทำหน้าที่สะสมอาหารสำหรับตัวอ่อน จะหมดหน้าที่ลงเมื่อถุงไข่ในระยะ secondary yolk sac เจริญเต็มที่ใช้เวลา 9 wk
3 wk. ตัวอ่อนเจริญอย่างรวดเร็ว มีการพัฒนาตัวอ่อนส่วนที่ 3 คือ mesoderm เรียกตัวอ่อนระยะนี้ว่า trilamina embryo ในระยะแรกของสัปดาห์ที่ 3 เริ่มมี extoderm การเจริญเติบโตของตัวอ่อนระบบของร่างกายระบบแรกที่เกิดขึ้นคือ ระบบหลอดเลือดและหัวใจ เมื่อสิ้นสุดสัปดาห์ที่ 3 หัวใจเริ่มเต้น
4 wk. เริ่มสร้างอวัยวะ ท่อประสาท กล้าเนื้อ กระดูก เกิดการงอตัวมากขึ้น คล้ายตัว c C-shaped curve เมื่อสิ้นสุด wk. 4 เริ่มเกิดตุ่มแขน ขา
5 wk. ส่วนหัวจะเจริญขึ้นมากกว่าส่วนอื่นๆ เริ่มมีการเจริญของสมอง มี cranial nerve 5 คู่ใน 10 คู่ เริ่มสร้างนิ้วเท้า หูนูนขึ้น
6 wk. มองเห็นส่วนต่างๆแยกกันชัดเจนขึ้น เช่น หู ตา นิ้วมือ เท้า ลำตัวยืดออก มีการสร้างกล้ามเนื้อ หัวใจมีการแบ่งห้องเรียบร้อย เริ่มสร้างช่องปาก ช่องจมูกและริมฝีปาก
7 wk. เริ่มมองเห็นลูกตาเด่นชัดขึ้น มีการเจริญของเบ้าตา ลิ้น เพดาน
8 wk. ใบหน้า ตา หู จมูก แขนและขาชัดเจน เริ่มมีการสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกแจ่ยังแยกเพศไม่ได้ เป็นระยะที่สำคัญที่สุดในการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์
9-12 wk./ 3 mo. เริ่มคลำยอดมดลูกได้ที่เหนือกระดูกหัวเหน่า เริ่มสร้างเนื้อกระดูก เริ่มแยกเพศได้ ทารกเริ่มมีการเคลื่อนไหวร่างกาย
13-16 wk./4 mo. มีการสร้างขนอ่อน lanugo hair โดยเฉพาะบริเวณศีรษะ สามารถแยกเพศได้ชัดเจน ลำไส้เริ่มมีขี้เทา สามารถกลืนน้ำคร่ำได้ มีการเคลื่อไหวจนมารดูรู้สึกได้
17-21 wk./5 mo. มีขนอ่อนทั้งตัวเริ่มมีไขคลุมผิวหนัง เริ่มสร้างขนคิ้ว ดิ้นจนมารดารู้สึกได้อย่างชัดเจน ฟังเสียงหัวใจได้ด้วยหูฟัง
21-24 wk./6 mo. เริ่มมี reflex การกำมือ ถุงลมในปอด alveoli เริ่มทำงาน ถ้าการตั้งครรภ์ยุติลงในระยะนี้ ทารกจะมีชีวิตได้ 2-3 hr. เพราะระบบหายใจยังไม่เจริญเต็มที่
25-28 wk./7 mo. ระบบประสาทเจริญสมบูรณ์ สั่งงานร่างกายได้ ควบคุมการทำงานของลูกตาให้เปิดปิดได้ ลูกอัณฑะเคลื่อนลงถุง เริ่มแลกเปลี่ยนก๊าซได้
29-32 wk./8 mo. ขนอ่อนตามลำตัวน้อยลง ทารกเริ่มสะสมเหล็ก แคลเซียม และฟอสฟอรัส อัณฑะลงถุงเรียบร้อย
33-36 wk./9 mo. ปอดเจริญเต็มที่และมีสาร surfactant
37-40 wk./10 mo. ทารก 37 wk.ขึ้นไป ถือว่าคลอดครบกำหนด
แบ่งเป็น 3 ชนิด
ระยะตัวอ่อน Embryonic stage 3-8 wk. สัปดาห์ที่ 3 จะมีการสร้างเซลล์ส่วนที่ 3 คือ Mesoderm ตัวอ่อนเริ่มสร้างอวัยวะที่สำคัญเรียกว่า Trilaminar embryo
Endodermal germ layer
ต่อมใต้สมอง ต่อมน้ำนม
ระบบประสาทส่วนกลาง สมอง ไขสันหลัง,ระบบประสาทส่วนปลาย
ปาก ทวารหนัก ช่องจมูกและไซนัส
อวัยวะรับความรู้สึก แก้วตา หูชั้นในและนอก
ผิวหนัง ผม เล็บ สารเคลือบฟัน
Endoderm
ระบบทางเดินปัสสาวะและส่วนล่าง :กระเพาะปัสสาวะ ท่อปัสสาวะ
เยื่อหุ้มหัวใจ ปอด ตับ ตับอ่อนและเยื่อบุช่องท้อง
ระบบทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ ทอนซิล ไทรอยด์ ไทมัส และต่อพาราไทรอยด์
Mesoderm
ระบบโครงสร้างร่างกาย :เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เอ็นยึดข้อต่อ กระดูก กระดูกอ่อน กล้ามเนื้อและเอ็น
ระบบทางเดินปัสสาวะส่วนบน :ไต ท่อไต
เนื้อฟัน
ม้าม หัวใจ ระบบไหลเวียนเลือด: เม็ดเลือดและน้ำเหลือง
ระบบอวัยวะสืบพันธ์ : ต่อมเพศ ท่อต่อมเพศ
ระยะตัวอ่อน (Zygote หรือ Pre-embryonic stage) เริ่ม 1วัน - 2 wk.
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์
ปัจจัยส่วนบุคคล
อายุ มากกว่า 35 ปี จะมีอัตราเสี่ยงต่อการเกิดอันตรายจากการตั้งครรภ์เช่น โลหิตจาง รกเกาะต่ำ มดลูกแตก ตกเลือด ทารกพิการแต่กำเนิดโดยเฉพาะDown syndrom
น้ำหนักและส่วนสูง น้ำหนักน้อยเกิดภาวะIUGR คลอดก่อนกำหนด น้ำหนักมากกว่า 80 kg เสี่ยงต่อคลอดยาก คลอดติดขัด
ส่วนสูงน้อยกว่า 145 มีโอกาสเสี่ยงต่อการคลอดติดขัด
ระดับการศึกษา รายได้ สถานภาพสมรส อาชีพ ลำดับที่การตั้งครรภ์
อายุน้อยกว่า 16 ปี การการยืดหยุ่นของช่องคลอดไม่ดี การใส่ใจดูแลสุขภาพตนเองน้อย
จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์ ถ้ามีการคลอดมากกว่า 4ครั้งจะทำให้เสี่ยงสูงขึ้น
ระยะห่างระหว่างครรภ์ น้อยกว่า 2 ปี เสี่ยงสูง ปลอดภัยที่สุดคือ ประมาณ 4 ปี
ภาวะสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ธาลัสซีเมีย G6PD โรคติดต่อ หัดเยอรมัน เอดส์ ซิฟิลิส
ความเชื่อ
ระยะตั้งครรภ์
การดื่มน้ำมะพร้าวอ่อน
ห้ามไปงานศพ
ห้ามรับประทานกล้วยน้ำว้า
ห้ามนั่งขวางบันได
ระยะคลอด
การตัดสายสะดือคนโบราณมักใช้ผิวไม้รวกตัดสายสะดือ
ระยะหลังคลอด
การอยุ่ไฟ
อาหารแสลงหลังคลอดเช่นอาหารแสลงท้อง บางรายแนะนำรับประทานข้าวต้มกับเกลือ
ยาที่มีผลต่อทารกในครรภ์
ยาแอสไพริน ทำให้คลอดก่อนกำหนดคลอดยาก ทารกมีเลือดออกได้ง่าย
ยาต้านการอักเสบ ที่ไม่ใช่ steroid เช่น Idomethacin ทำให้ทารกเลือดออก
Tetracycline ทำให้มีพิษต่อตับอย่างรุนแรง กระดูกเจริญเติบโตผิดปกติ
Sulfa ให้ระยะใกล้คลอดอาจทำให้ทารกเกิดอาการดีซ่าน
Choramphenicol ทำให้ทารกมีอาการตัวเขียว เนื้อตัวอ่อนปวกเปียก ตัวเย็น
Gentamycin ถ้าใช้นานอาจทำให้ทารกหูพิการได้
Phenobarbital ปากแหว่งเพดานโหว่ เลือดออกในสมอง หัวใจพิการแต่กำเนิด
Diphenyldantoin อาจทำให้เกิด Fetal hydantin syndrom
Propranolol ทารกเกิดIUGR แรกเกิดชีพจรเต้นช้าและน้ำตาลต่ำ
Warfarin เกิด IUGR แท้ง ตายคลอด