Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ (Diabetes Mellitus (การรักษา…
การพยาบาลเด็กที่มีความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ
ต่อมธัยรอยด์
Hypothyroid function
Congenital hypothyroidism
อาการและการแสดง
ทารกคือผิวหนังซีดและเย็นแขนขาเป็นลายเนื่องจากการไหลเวียนเลือดไปส่วนปลายไม่ดีลำไส้ทำงานน้อยลงทำให้ท้องผูกกล้ามเนื้อหน้าท้องไม่แข็งแรงจะพบท้องป่องสะดือจุ่นซึมง่วงนอนและการเคลื่อนไหวเชื่องช้าลิ้นใหญ่คับปากดูดนมช้าและดูดได้น้อยแหวะนมง่ายสำลักนมง่ายหายใจลำบากเป็นหวัดเรื้อรังการเจริญเติบโตและพัฒนาการล่าช้า
การวินิจฉัย
ทารกแรกเกิดการวินิจฉัยภาวะนี้ให้ได้เร็วมีความสำคัญเพื่อให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการเป็นไปตามปกติจึงจำเป็นต้องอาศัย screening program ตั้งแต่แรกเกิดการตรวจระดับ TSH ประมาณวันที่ 3-5 หลังเกิดทารกที่มีภาวะนี้จะมีระดับ TSH สูงกว่า20ไมโครยูนิต / ดล. และการตรวจระดับ T4 โดยจะพบมีค่า serum T4 ต่ำกว่า 6. 0 ไมโครกรัม / ดล.-
เด็กวัยอื่น ๆ
1.การตรวจระดับซีรั่ม T3,T4 จะพบว่า ต่ำกว่าปกติ
2.Thyriod scanning เพื่อดูตำแหน่งและขนาดของต่อมธัยรอยด์
3.การ bone X-ray ดูอายุกระดูก พบว่าเด็กจะมีอายุกระดูกช้ากว่าปกติ 6 สัปดาห์ขึ้นไป
การถ่ายภาพรังสีทรวงอกเพื่อดูขนาดของหัวใจอาจพบว่ามีขนาดใหญ่ขึ้นได้
การรักษา
ให้ L-Thyroxine ชนิดรับประทานควรรับประทานยานี้ในเวลาเดียวกันทุกวันถ้าลืมรับประทานยา: ควรรับประทานทันทีที่นึกขึ้นได้แต่ถ้าเวลาใกล้เคียงกับเวลาที่จะรับประทานครั้งต่อไปควรงดรัยาที่ลืมและให้รับประทานตามเวลาที่จะรับประทานครั้งต่อไปตามปกติไม่ควรเพิ่มปริมาณยาเป็น 2 เท่า
ติดตามการรักษาเช่นติดตามการเจริญเติบโตและพัฒนาการคิดตาม tiroid function test และอายุกระดูกเป็นระยะๆ
รักษาโรคหรือภาวะผิดปกติที่พบร่วมด้วย
การพยาบาล
นับอัตราการเต้นของหัวใจก่อนให้ธัยรอยด์ฮอร์โมนทุกครั้งถ้าอัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 160 ครั้ง / นาทีในเด็กเล็กหรือมากกว่า 140 ครั้งนาทีในเด็กโตให้งดยามื้อนั้น
2 ประเมินอาการแสดงได้รับธัยรอยด์ฮอร์โมนเกินขนาด ได้แก่ หงุดหงิดอยู่ไม่สุขตื่นเต้นตกใจง่ายเหงื่ออกท้องเสียมือสั่นหกล้มบ่อยอัตราการเต้นของหัวใจและความดันโลหิตเพิ่มขึ้นความดันชีพจร (pulse pressure) กว้าง
ให้คำแนะนำแก่บิดามารดและเด็กเกี่ยวกับวิธีการให้ธัยรอยด์ฮอร์โมนแทน
ต้องรับประทานยาต่อเนื่องทุกวันตลอดชีวิต
ต้องบดยาผสมกับน้ำหรือน้ำผลไม้ไม่ควรผสมยาในนมเพราะถ้าเด็กดื่มไม่หมดจะทำให้ได้ยาไม่ครบ
ให้ยาหลังอาหารเช้าทุกวัน3. 4 สังเกตอาการซึ่งแสดงว่าได้รับยาขนาดยาพอเหมาะ ได้แก่ การนอนหลับการขับถ่ายความอยากอาหารและ activity ต่ำ
บอกให้บิดามารดาทราบถึงความจำเป็นต้องตรวจทดสอบทางห้องปฏิบัติการเป็นระยะๆ
แนะนำอาหารที่ควรจัดให้เด็ก ได้แก่ อาหารที่มีโปรตีนสูงแป้งหรือข้าวเพียงพอเพิ่มอาหารที่มีวิตามินดีและแคลเซียมเช่นนมสดวันละ 3-4 แก้ว
แนะนำเรื่องการรักษาฟันโดยการรักษาความสะอาดในช่องปากและการงตขนมหวานการป้องกันฟันผุ
แนะนำและให้กำลังใจบิดามารดาในการกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการด้านต่างๆอย่างต่อเนื่องเพราะบุตรอาจมีพัฒนาการช้ากว่าปกติ
บอกบิดามารดาถึงความสำคัญของการมาพบแพทย์ตามนัดเพื่อติดตามผลการรักษาและปรับขนาดของยาให้เหมาะสมในปีแรกควรตรวจระดับฮอร์โมนในเลือดทุก 3 เดือนปีต่อมาห่างเป็น 6 เดือนจากนั้นควรตรวจทุกปีจนโตเป็นผู้ใหญ่
Acquired hypothyroidism
เป็นการขาดฮอร์โมนธัยรอยด์ภายหลังอายุ 2 ปีเกิดจากการขาดธาตุไอโอดีนความผิดปกติของโครโมโซมโรคติดเชื้อของต่อมธัยรอยด์โรคทาง Autoimmune disease หรือการได้รับยาหรือสารที่ขัดขวางการสร้างฮอร์โมนธัยรอยด์เช่น iodide, thiouracia เป็นต้น
การรักษา
ให้ฮอร์โมนธัยรอยด์เช่นเดียวกับการรักษาใน Congenital hypothyroidism แต่มักจะเพิ่มขนาดยาที่ละน้อยช้าๆเพื่อป้องกันผู้ป่วยเด็กทนค่อยาไม่ได้และอาจแสดงอาการของ Hyperthyroid
การผ่าตัดในกรณีที่จำเป็นเพื่อไทรอยด์มีขนาดโตมาก
การรักษาประคับประคองโดยรักษาโรคหรือภาวะอื่นที่เป็นร่วมด้วยการพยาบาล 1. ให้การพยาบาลเช่นเดียวกับในผู้ป่วย Congenital hypothyroidism
Hyperthyroid function
อาการและอาการแสดง
เด็กจะมีคอพอกตาโปนผิวหนังมีสีชมพูเรื่อตัวอุ่นและเหงื่อออกตลอดเวลาเนื่องจากมีการสร้างความร้อนมากมักจะทนต่ออากาศร้อนไม่ได้รับประทานอาหารได้มากแต่น้ำหนักตัวลดลงอ่อนเพลียและกล้ามเนื้อไม่ค่อยมีแรงใจสันชีพจรเร็วลง
การวินิจฉัย
1.การตรวจทางรังสีหาเกณฑ์อายุกระดูก
2.การตรวจหาระดับซีรัมค่า TSH น้อยกว่า 0. 5 mUM โดยที่มี T3 มากกว่า 180 ny / dl) T4 มากกว่า 12ug / d
การพยาบาล
การให้ยาต้านการทางานของต่อมธัยรอยด์เช่น PTU (Fropyltipur acit) Methiriazole (Tanazol) และ Carbinnazole, Luggl 's solution
การผ่าตัดในรายที่จำเป็นเช่น Subtotal Thyroidectomy
การพยาบาล
ให้การดูแลช่วยเหลือเมื่อมีอาการที่ไม่พึงประสงค์จากยา Leukopenla ซึ่งจะทำให้เกิดการติดเชื้อได้ง่ายสังเกตอาการได้รับปริมาณยาไม่เพียงพอคือใจสันมีเมตาบอลิสซึมสูงหงุดหงิด
ให้คำแนะนำผู้ป่วยเด็กและบิดามารดาเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้านการสังเกตอาการจากฤทธิ์ข้างเคียงของยาที่ได้รับความสำคัญการมาตรวจตามแพทย์นัดการหลีกเลี่ยงปัจจัยที่จะก่อให้เกิดความเครียดความหงุดหงิด
Diabetes Mellitus
ความหมาย
ภาวะที่ร่างกายมีระดับกลูโคสในเลือดสูงเกินกว่าปกติซึ่งอาจเกิดจากการขาดอินซูลินหรืออาจเกิดจากการที่อินซูลินทำงานได้ไม่เต็มที่เนื่องจากอินซูลินเป็นฮอร์โมนที่จำเป็นในการนำกลูโคสไปใช้ในเซลล์การขาดอินซูลินจึงมีผลทำให้ร่างกายนำกลูโคสไปใช้ไม่ได้และมีระดับสูงอยู่ในเลือด (hyperglycemia) ถ้าสูงเกินระดับความสามารถของใตที่จะเก็บไว้ได้ก็จะทนออกมากับปัสสาวะ
ชนิด
ชนิดที่1 (Type 1 Habetes Mellitus หรือ irisutin Devendent Nabetes Akellitus DOM) มักพบในเด็กก่อนอายุ 20 ปีมีโอกาสเกิดภาวะคีโตนในเลือด (ketoacidosis) ได้ง่าย
ชนิดที่ 2 (Type 2 [Diabetes mellitus หรือ Norninsulin Dependent Diabetes Mellitus: NIDDM) มักพบในผู้ใหญ่หรือเด็กที่มีรูปร่างอ้วนมีโภชนาการเกิน
อาการและอาการแสดง
อาการระยะแรกเริ่มจากปัสสาวะมาก (polyuria) ปัสสาวะรดที่นอนบ่อยกระหายน้ำมากทำให้ดื่มน้ำมาก (polydipsia) รับประทานอาหารจุ (polyplhaia) (เรียก 3 P 's: polyuria, polydipsia, polyphagia) รูปร่างผอมลงอ่อนเพลียถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือแก้ไขอาการจะรุนแรงขึ้นและเฉียบพลันผู้ป่วยเด็กจะมีอาการคลื่นไส้อาเจียนปวดท้องมีใช้มีอาการหายใจหอบลึกที่เรียกว่า Kussrnaut breathing เพื่อขับคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากร่างกายช่วยลดภาวะกรค (acidosis) ต่อมาก็ซึมลงตัวเย็นความรู้สึกตัวลดลงหมดสติและอาจเสียชีวิตถ้าไม่ได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วนและถูกต้องภาวะนี้เป็นภาวะวิกฤตฉุกเฉินของโรคเบาชนิดที่ 1 ที่เรียกว่า diabetic Ketoucidosis (DNA) ซึ่งเป็นภาวะที่เกิดขึ้นเมื่อมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงมากกว่า 300 มิลลิกรัมเปอร์เซนต์ร่วมกับมีการผลิตกรดคีโตนเพิ่มขึ้นอย่างมากจนทำให้เกิดภาวะกรดจากการเผาผลาญ
การวินิจฉัย
มีอาการของโรคเบาหวานเด่นชัดร่วมกับกลูโคสในพลาสมาสูงกว่า 200 มก. / ดล.
2 มีอาการไม่เด่นชัดหรือไม่มีอาการแต่การตรวจน้ำตาลในเลือดก่อนอาหาร (fasting blood sugar: FBS) พบมากกว่า 140 มก. / ดล. ร่วมกับพลาสมากลูโคสที่ 2 ชั่วโมงหลังทำ OSTT (oral glucose tolerance test) มากกว่า 200 มก. / ดล. .
การรักษา
รักษาอาการที่เกิดจากภาวะน้ำตาลในเลือดสูงโดยการให้อินซูลิน
ป้องกันการเกิดคีโตอะซิโดสีส (DKA)
การควบคุมอาหาร
ป้องกันหรือชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนเรื้อรัง
Diabetes incipidus
ความหมาย
ภาวะที่ร่างกายไม่สามารถรักษาสมดุลของน้ำได้ทำให้มีอาการปัสสาวะมากอาจมากกว่า 4-10 ลิตรต่อวันในเด็กเล็กอาจมากกว่า 8 ซีซี / กก. / ชม.
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติของต่อมพิทูอิทารีย์ทำให้การสร้าง antidiuretic hormone (ADH) หรือ Vasoperessin น้อยลงมีผลทำให้ใดส่วน distal tubule ดูดซึมกลับน้ำน้อยลง
อาการและอาการแสดง
การตรวจร่างกาย
พบว่ามีอาการของการขาดน้ำน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์อาจจะมีไข้ต่างๆ
ตวงปริมาณของปัสสาวะในแต่ละวันจะพบว่ามากกว่า 2 ลิตรต่อวัน (ปกติ 0. 5 mVmin หรือ 30 mV / hr) ตรวจปัสสาวะพบความเข้มข้นของปัสสาวะ (urine specific gravity) ต่ำกว่า 1, 005 ในทารกและต่ำกว่า 0. 010 ในเด็กโต
ตรวจเลือดพบโซเดียมสูงมากกว่า 145 mEq (ค่าปกติ 135 – 145 mia) และ plasma osmolarity สูงมากกว่า 290 mOs / kg (ค่าปกติ 275 – 290 mOs / kg)
การตรวจ CT brain หรือ MRI brain เพื่อหาความผิดปกติของสมองเช่นเนื้องอกหรือความผิดปกติของหลอดเลือดในสมอง
การพยาบาล
ให้ยาฮอร์โมนสังเคราะห์ตามแผนการรักษาสังเกตอาการข้างเคียงจากการให้ยาเช่นปวดศีรษะปวดท้องคลื่นไส้ผื่นแดงคัดจมูกน้ำมูกไหลบางรายอาจมีเลือดออกในจมูกเจ็บคอได้
ดูแลให้ได้รับสารน้ำตามแผนการรักษาในเด็กอายุมากกว่า 10 ปีเตรียมน้ำเกลือนอร์มัล (Isotonic solution) อายุน้อยกว่า 10 เตรียมน้ำเกลือนอร์มัลความเข้มข้นครึ่งหนึ่ง (1/2 NSS 1. ประเมินอาการแสดงของภาวะขาดน้ำและอิเลคโทรลัยต์ชั่งน้ำหนักตัวบันทึกการได้รับน้ำและถ่ายปัสสาวะ