Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ (Evaluate, Analysis, Synthesis)…
การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ (Evaluate, Analysis, Synthesis)
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
ต้องมีความความถูกต้อง (Accuracy)
มีความน่าเชื่อถือ (Reliable)
สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (Relevance)
เข้าถึงได้ง่าย (Accessible)
ต้องมีความสมบูรณ์ (Completeness)
ตรวจสอบได้ (Verifiability)
ทันต่อความต้องการใช้ (Timeliness)
มีความทันสมัย เป็ นปัจจุบัน (Up to date)
หลักเกณฑ์ในการพิจารณาสารสนเทศที่ดี
1 พิจารณาความหน้าเชื่อถือ
ความเที่ยงตรง
ความถูกต้องของสารสนเทศ
2 พิจารณาแหล่งที่มาของสาระสนเทศ
พิจารณาผู้แต่ง
พิจารณาส านักพิมพ์หรือแหล่งผลิต
3 พิจารณาขอบเขตเนื้อหา
4 พิจารณาให้ตรงตามความต้องการ
5 พิจารณาช่วยเวลาที่เผยแพร่
การเลือกใช้สารสนเทศ
ต้อง
ผ่านกระบวนการ 3 ขั้นตอน
การประเมินสารสนเทศ (Evaluate)
การประเมินสารสนเทศ คือ การตรวจสอบว่าสารสนเทศที่ได้มานั้นสามารถ
ตอบคำถามที่ตั้งไว้ได้ละเอียดครอบคลุมทุก
ประเด็นมีคำอธิบายที่เป็นเหตุเป็นผลและมี
เอกสารอ้างอิงที่มีความน่าเชื่อถือเพียงใด
ความสำคัญของการประเมินสารสนเทศ
เป็นขั้นตอนในการประเมินเพื่อค้ดเลือกสารสนเทศที่เราได้จากการสืบค้นที่มีคุณค่า มีความน่าเชื่อถือในทางงวิชาการเป็นการพิจารณา
คัดเลือกจากแหล่งสารสนเทศต่างๆ ทั้งจากห้องสมุด อินเทอร์เน็ต เป็นต้น
การวิเคราะห์สารสนเทศ (Analysis)
การวิเคราะห์สารสนเทศ หมายถึง
กระบวนการแยกแยะสารสนเทศที่สำคัญและสอดคล้องกับเรื่องทีี่ต้องการออก
เป็นกลุ่มย่อยๆ โดยให้สารสนเทศที่มี เนื้อหาเดียวกัน หรือที่ค้นได้จากคำสำคัญเดียวกันอยู่ด้วยกัน
กระบวนการของการวิเคราะห์สารสนเทศ
1 การอ่านเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศ
ที่ผ่านการประเมินแล้วว่า สามารถน ามาใช้งานได้จริงๆ
2 ดึงเนื้อหาของสารสนเทศที่สอดคล้องกับประเด็น
แนวคิดต่างๆ ที่เราต้องการศึกษา
3 ทำการบันทึกเนื้อหาลงใน บัตรบันทึก
4 นำบัตรบันทึกมาจัดกลุ่มตามประเด็นแนวคิดเพื่อใช้ในการเรียบเรียงเนื้อหาของรายงานต่อไป
การสังเคราะห์สารสนเทศ (Synthesis)
จัดสารสนเทศที่ได้มาจากแหล่งต่างๆ
(Organize from multiple sources)
นำเสนอสารสนเทศ (Present the information)
กระบวนการของการสังเคราะห์สารสนเทศ
จัดกลุ่มสารสนเทศที่มีแนวคิดเดียวกัน ไว้ด้วยกัน
นำแนวคิดต่างๆ ที่เราได้สร้างความสัมพันธ์ในแต่ละกลุ่ม
ของแนวคิด มารวบรวมเป็นโครงสร้างใหม่ในรูปของโครงร่าง
นำสารสนเทศที่มีแนวคิดเดียวกันมาจัดกลุ่มอีกครั้ง เพื่อสร้างคสามสัมพันธ์ตามลำดับชั้น
ประเมินโครงร่างที่ได้ ครอบคลุมครบถ้วนหรือไม่ กรณีไม
ครบถ้วน ต้องกลับไปเริ่มที่กระบวนการแสวงหาคำตอบใหม
การเขียนโครงร่าง (Outline)
เป็นการกำหนดกรอบแนวคิดและขอบเขตของเรื่อง จัดลำดับหัวข้อ
ให้มีความสัมพันธ์กัน และต่อเนื่องกัน องค์ประกอบในการวาง
โครงร่าง บทนำ เนื้อหา สรุป
รูปแบบการนำเสนอ
นิทรรรศการ E-book วีดิทัศน์ บอร์ด รายงาน แผ่นพับ โครงงาน Web page PPT เป็นต้น
การนำเสนอสารสนเทศ / การนำเสนอผล
ขั้นตอนนี้ มีความเชื่อมโยงกันระหว่าง ขั้นตอนที่ 1 Task definition (ตอนแรกตั้งจุดประสงค์ไว้ว่าอย่างไร / สามารถปรับในภายหลังได้)
ต้องพิจารณาด้วยว่ารูปแบบที่ใช้เหมาะสมกับหัวข้อหรือปัญหาที่ได้รับหรือไม