Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 2 เกษตรกรรมกับสังคมไทยและสังคมโลก (แนวคิดเกี่ยวกับเกษตรกรรม…
หน่วยที่ 2
เกษตรกรรมกับสังคมไทยและสังคมโลก
แนวคิดเกี่ยวกับเกษตรกรรม
รูปแบบการผลิต
ในภาคเกษตรกรรม
รูปแบบหลัก
เกษตรกรรมแบบผลิตเชิงการค้า
เกษตรกรรมแบบผลิตพอยังชีพ
เกษตรกรรมแบบผลิตเชิงอุตสาหกรรม
รูปแบบลักษณะพิเศษ
เกษตรกรรมแบบธรรมชาติ
เกษตรกรรมแบบยั่งยืน
เกษตรอินทรีย์
เกษตรกรรมผสมผสานแบบประณีต
วนเกษตร
เกษตรกรรมไร้สารพิษ
เกษตรทฤษฎีใหม่
ระบบไร่หมุนเวียน
อาชีพที่เกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม
อุตสาหกรรมเกษตร
กลุ่มอุตสาหกรรมการผลิตอาหาร
กลุ่มอุตสาหกรรมการผลิตที่ไม่ใช่อาหาร
การให้บริการ
บริการจัดหาและบริการขาย
จัดจำหน่ายสินค้าเกษตร ผลิตภัณฑ์เกษตร
การขายความคิด ออกแบบ จัดสร้าง จัดหา บริการ
แหล่งบริการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
บริการความรู้เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม
การผลิตวัตถุดิบ
กลุ่มการผลิตสัตว์
กลุ่มการผลิตพืช
ความหมายและความสำคัญของเกษตรกรรม
เกษตรกรรม หมายถึง
การใช้พื้นที่เพื่อให้เกิดผลผลิต
ที่เกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิต
การจัดหาสินค้าและบริการเกี่ยวกับการเกษตร
การแปรรูป และกระจายผลผลิตทางการเกษตร
กิจกรรมที่ดำเนินเกี่ยวกับการเกษตร การเพาะปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์
ความสำคัญ
แหล่งสร้างรายได้
ตลาดสำคัญรองรับผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
แหล่งสร้างงาน
ภาคเศรษฐกิจที่แข่งขันกับต่างประเทศ
รากฐานทำให้เกิดวัฒนธรรมที่ดีงาม
การสร้างความมั่นคงทางอาหาร
ฐานความเชื่อมโยงของการผลิตอื่น
ความสำคัญต่อชีวิตและธุรกรรมทุกภาคส่วนของมนุษย์
กระบอกเสียงประชาสัมพันธ์ประเทศ
แหล่งสนับสนุนการท่องเที่ยว
เกษตรกรรมไทยกับสังคมโลก
ลักษณะเด่นของ
เกษตรกรรมไทย
การเกษตรเพื่อพลังงาน
การเกษตรตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การเกษตรเพื่ออาหาร
การเกษตรภายใต้ภาวะโลกร้อน
เกษตรกรรมไทย
กับอาหารโลก
การพัฒนาสินค้า
เกษตรกรรมไทย
สู่อาหารโลก
พัฒนาธุรกิจบริการอาหารไทย
พัฒนาปัจจัยสนับสนุน
พัฒนาสินค้าอาหารไทย
บทบาทของเกษตรกรรมกับสังคมไทยและสังคมโลก
บทบาทของ
เกษตรกรรม
กับสังคมไทย
การดำรงชีวิต
ยารักษาโรค
พลังงาน
เครื่องนุ่งห่ม
ที่อยู่อาศัย
เป็นอาหารกาย อาหารใจ
ประเพณี วัฒนธรรม
วันพืชมงคล
ลงแขกเกี่ยวข้าว
วัฒนธรรมทางวัตถุ
เครื่องมือทางการเกษตร ที่อยู่อาศัย
วัฒนธรรมทางจิตใจ
บทบาทของ
เกษตรกรรม
กับสังคมโลก
เกิดห่วงโซ่ทางการค้าระหว่างประเทศในสังคมโลก
กำหนดนโยบายด้านเกษตรและมีหน่วยงานรับผิดชอบ
เกิดข้อตกลงทางการค้าสินค้าเกษตรระหว่างประเทศ
เกิดวิวัฒนาการการเกษตร
ยุคเริ่มแรก
ยุคปฏิวัติเกษตรกรรม
ยุคปฏิวัติเขียว
ยุคปัจจุบัน
สร้างความมั่นคงทางอาหาร