Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จิตบำบัดครอบครัว (Family Psychotherapy) (สภาพปัญหา (ความขัดแย้งในบทบาท,…
จิตบำบัดครอบครัว
(Family Psychotherapy)
สภาพปัญหา
ความขัดแย้งในบทบาท
มีบทบาทมากเกินไป
มีบทบาทต่ำกว่าที่ควรเป็น
มีบทบาทไม่สอดคล้อง
ได้รับบทบาทเกินความสามารถ
การปฏิบัติบทบาทต่ำกว่าความสามารถ
เป้าหมาย
ช่วยครอบครัวทำหน้าที่ได้ดีขึ้น
วิธีการ
แก้ไขวิธีสื่อสาร
แก้ไขวิธีจัดการกับความขัดแย้ง
จุดเน้น
ปฏิสัมพันธ์ภายในครอบครัว บทบาท/ขอบเขต
ผู้ที่ร่วมในการบำบัด
สมาชิกในครอบครัว เครือญาติ
ลักษณะที่ต้องบำบัด
ครอบครัวที่ใช้อำนาจสั่งการ ข่มขู่
การสื่อสารไม่เหมาะสม ตำหนิ
สับสนในการทำบทบาทหน้าที่
ครอบครัวแบบแพะรับบาป
ข้อบ่งชี้
ปัญหาจิตเวชเด็กและวัยรุ่น
ปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ หรือความสัมพันธ์ที่ผิดปกติ
ปัญหาระหว่างคู่สมรส หรือปัญหาทางเพศ
การตาย การหย่าร้าง
การใช้ความรุนแรงในครอบครัว
การล่วงละเมิดทางกาย/เพศ
ครอบครัวบำบัด
ไม่เหมาะสม ในกรณี
ปัญหาคู่สมรสเรื้อรัง ต่างคนต่างอยู่
ผู้ป่วยบุคลิกภาพผิดปกติรุนแรง
เจ็บป่วยทางจิตรุนแรง
บทบาทพยาบาล
ประเมินสภาพ
ประวัติจิตเวช อายุรกรรม สารเสพติด ค่านิยม บทบาทในครอบครัว ปัญหาและแนวทางแก้ไข การปรับตัวในภาวะวิกฤต
วิเคราะห์สภาพปัญหา
ปัญหาอยู่ที่ใคร
เร่งแก้ไขส่วนที่จำเป็นก่อน
กำหนดความคาดหวัง
และสร้างสถานการณ์
การวางแผน
3.1 เป้าหมาย
จัดโครงสร้างครอบครัวใหม่
ขจัดความขัดแย้ง
ปรับขอบเขตให้ชัดเจน
3.2 ลำดับความสำคัญปัญหา
ปัญหาด่วน
เพื่อลดความรุนแรง
ปัญหาเรื้อรัง
ความคิดขัดแย้งที่เกิดขึ้นเรื่อยมา
3.3 กำหนดกิจกรรม
เน้นส่งเสริมบทบาทหน้าที่ของแต่ละคนในครอบครัว ทั้งด้านความคิด อารมณ์ พฤติกรรม
ปฏิบัติการบำบัด
เน้นหลักการ
สร้างให้ครอบครัวแข็งแกร่ง
บอกข้อมูล บทบาทของแต่ละคนให้เข้าใจชัดเจน
พยายามดึงจุดปัญหา
ช่วยกันทำหน้าที่ดูแลกันเอง
กระตุ้นและสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง
เทคนิคสำคัญ
สังเกต
สร้างขอบเขตและกฎเกณฑ์
มีกฎเกณฑ์ในครอบครัว
เน้นหน้าที่ ระบบ บทบาท ให้ปรับบทบาทให้เหมาะสม
การประเมินผล
สังเกตพฤติกรรม โดยเปรียบเทียบกับ
เป้าหมายที่ตั้งไว้ อาจได้จากการสอบถาม