Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:warning:ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล :warning: (มีภาวะเนื้อเยื่อได้รับออกซิเจน…
:warning:ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
:warning:
มีภาวะเนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
เนื่องจากถุงลมปอดทำหน้าที่ได้ไม่สมบูรณ์
:pencil2: ข้อมูลสนับสนุน
:red_flag:Subjective data
: None
:red_flag:Objective data
จากการสังเกต ผู้ป่วยมีอาการหายใจเหนื่อย ใช้กล้ามเนื้อ
ช่วยในการหายใจ หายใจมีอกบุ๋มเล็กน้อย
จากการสังเกต ผู้ป่วย On HHHFNC 4 LPM
Fio2 0.21 keep SpO2 90-95%
จากแผนการรักษาของแพทย์ ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น
Preterm with Respiratory Distress Syndrome
หมายถึง ทารกเกิดก่อนกำหนดร่วมกับมีภาวะหายใจลำบาก
จากประวัติการคลอด GA 29+2 weeks
น้ำหนักแรกคลอด 1,148 กรัม
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Hemoglobin 11.9 g/dl
Hematocrit 35.2 %
Red Blood Cell 3.92 x 106/UL
ผลการวิเคราะห์ก๊าซในเลือด
pH 7.50
pCO2 25 mmHg
pO2 40 mmHg
HCO3 22.8 mmol/L
BE -3.5
จากการประเมินสัญญาณชีพ
Oxygen saturation 93%
Blood Pressure 68/46 mmHg
Respiratory Rate 60 bpm
Pulse Rate 160 bpm
Temperature 36.9๐C
:star: กิจกรรมการพยาบาล
3.ดูแลทางเดินหายใจให้โล่งอยู่เสมอ โดยการดูดเสมหะ ควรทำทุกๆ 2 ชั่วโมงหรือตามอาการของผู้ป่วย เพื่อขจัดเสมอหะที่คั่งค้างภายในปอด
4.ช่วยขับเสมหะจากปอดและหลอดลม ได้แก่ การเคาะปอดและสั่นผนังทรวงอก
5.จัดท่าให้ทารกนอนในท่าศีรษะสูงประมาณ15องศา
และตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่งเพื่อช่วยให้กระบังลมหด
ได้เต็มที่ปริมาตรในช่องอกเพิ่มขึ้นและปอดยืดขยายตัวได้เต็มที่
และช่วยให้เสมหะไหลออกมาทางปากได้มากขึ้น
ุ6.ดูแลให้ออกซิเจนที่อุ่นและมีความชื้นร้อยละ 40-60% หรืออยู่ระหว่าง 31-34 องศาเซลเซียส เพื่อป้องกันเยื่อบุจมูกแห้ง
7.จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ ปราศจากสิ่งรบกวน ให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน ลดการใช้พลังงานและออกซิเจน
8.ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Red Blood Cell
Hemoglobin
Hematocrit
9.ติดตามผลการวิเคราะห์ก๊าซในเลือด
2.ประเมินสัญญาณชีพของผู้ป่วย
1.ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะหายใจลำบาก ได้แก่ หายใจเร็วขึ้น มีปีกจมูกบาน ใช้กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจมากขึ้น หายใจมีเสียง grunting และอาการที่แสดงถึงภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน ได้แก่ ปลายมือปลายเท้าเขียว ซีดและเย็น
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะอุณหภูมิกายต่ำ เนื่องจากระบบควบคุมอุณหภูมิของร่างกายยังทำงานไม่สมบูรณ์
:pencil2: ข้อมูลสนับสนุน
:red_flag:Subjective data
: None
:red_flag:Objective data
จากการสังเกตผู้ป่วยนอนในตู้ให้ความอบอุ่น(Incubator)
จากประวัติการคลอด GA 29+2 weeks
น้ำหนักแรกคลอด 1,148 กรัม
แรกคลอดผู้ป่วยมีภาวะอุณหภูมิกายต่ำ
Temperature 36.1๐C
จากการประเมินสัญญาณชีพ
Temperature 36.9๐C
Pulse Rate 160 ครั้ง/นาที
Respiratory Rate 60 ครั้ง/นาที
Blood Pressure 68/46 mmHg
Oxygen saturation 93%
:explode: กิจกรรมการพยาบาล
3.ควบคุมอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมหรือตู้ให้ความอบอุ่นให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม
เพื่อให้ร่างกายทารกมีการสร้างความร้อนและลดการใช้ออกซิเจน
1.ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะอุณหภูมิกายต่ำ เช่น
ผิวหนังแดง ผิวเย็นและซีด มีเขียวตามปลายมือ ปลายเท้า
กระสับกระส่าย หายใจช้าลง หายใจลำบาก เป็นต้น
2.ประเมินสัญญาณชีพโดยมีค่าปกติ
Temperature ค่าปกติ 36.9 - 37.2 ๐C
Pulse Rate ค่าปกติ 110-180 ครั้ง/นาที
Respiratory Rate ค่าปกติ 30-60 ครั้ง/นาที
Blood Pressure ค่าปกติ 69-90/40-60mmHg
Oxygen saturation ค่าปกติ 90 – 100 %
4.ดูแลอุ่นนมก่อนให้ทารก นมที่ให้ควรมีอุณหภูมิ
ใกล้เคียงนมแม่ ประมาณ 37 องศาเซลเซียส
5.สวมหมวกหรือใช้ผ้าคลุมศีรษะทารกและใช้ผ้าม้วนกลมรอบตัวทารก
เพื่อป้องกันการสูญเสียความร้อนโดยการระเหยและการพา
6.ปฏิบัติการพยาบาลด้วยความรวดเร็วและนุ่มนวล เพื่อป้องกันการ
สูญเสียความร้อนจากการเปิดตูอบนาน
7.ระมัดระวังการสูญเสียความร้อน
การระเหย
ดูแลผิวหนังทารกให้แห้งอยู่เสมอ
และควรเปลี่ยนผ้าอ้อมที่เปื้อนปัสสาวะทันที
การพา
ลดการเปิดหน้าต่างหรือประตู
ตู้ให้ความอบอุ่นโดยไม่จำเป็น
การนำ
หลีกเลี่ยงการวางทารกบนพื้นผิวที่เย็น
โดยวางผ้ารองใต้ตัวทารก
การแผ่รังสี
ดูแลวางตู้ให้ความอบอุ่นให้อยู่
ห่างจากประตู หน้าต่างและผนังห้องที่เย็น