Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 14 การจัดการความรู้ ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร…
หน่วยที่ 14
การจัดการความรู้
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับความรู้
ในการส่งเสริมและ
พัฒนาการเกษตร
ลักษณะและประเภท
ของความรู้
ลักษณะความรู้
ความรู้ชุมชน
ความรู้จากการศึกษาวิจัย
ประเภทของความรู้
ความรู้ที่เป็นภูมิปัญญาดั้งเดิม/ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ความรู้ถูกสร้างขึ้นใหม่
การแสวงหา การถ่ายโอน
และการถ่ายทอดความรู้
วิธีการแสวงหาความรู้
การนำภูมิปัญญาท้องถิ่นปรับใช้ให้ตอบสนองกลุ่มเป้าหมาย
การต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น
การแสวงหาความรู้ใหม่
การพัฒนาความรู้ขึ้นใหม่
การถ่ายโอนและการถ่ายทอดความรู้
จากบุคคลสู่บุคคล
จากบุคคลสู่กลุ่ม
จากกลุ่มสู่กลุ่ม
ความสำคัญของความรู้
ในการส่งเสริมและ
พัฒนาการเกษตร
ช่วยแก้ปัญหา ขจัดความสงสัย
ช่วยให้เกษตรกร นักส่งเสริมสามารถพัฒนาตนเอง
ช่วยสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การสร้างและ
การยกระดับความรู้
การสกัดความรู้ออกจากตัวคน
การผนวกความรู้ชัดแจ้งเข้าด้วยกัน
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การฝังหรือผนึกความรู้ในตน
กระบวนการ และ
วิธีการจัดการความรู้
กระบวนการจัดการความรู้
การจัดหาความรู้จากแหล่งต่างๆ
การแบ่งปันความรู้
การใช้/เผยแพร่ความรู้
วิธีการจัดการความรู้
การทำฐานข้อมูล
การใช้เทคนิคการเล่าเรื่อง
การทบทวนหลังการปฏิบัติงาน
ระบบพี่เลี้ยง
การประชุมระดมสมอง
ชุมชนนักปฏิบัติ
ความหมาย หลักการ
และองค์ประกอบ
ในการจัดการความรู้
เป้าหมายการจัดการความรู้
เพื่อพัฒนาการส่งเสริมและการเกษตร
เพื่อพัฒนาคน
เพื่อพัฒนาฐานความรู้การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
เพื่อพัฒนาความเป็นชุมชน
หลักการจัดการความรู้
ทำงานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ของสมาชิกที่หลากหลายทักษะ วิธีคิด
ร่วมกันพัฒนาวิธีทำงานรูปแบบใหม่ๆ
การดำเนินการแบบบูรณาการ
ทดลองและเรียนรู้
การผลิตใช้ภูมิปัญญาบนฐานทรัพยากรที่มีในท้องถิ่น
นำความรู้ภายนอกมาปรับใช้
เรียนรู้เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ความหมายการจัดการความรู้
การรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยน ประยุกต์ความรู้ด้านต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเกษตรกร กลุ่ม ชุมชน
องค์ประกอบของการจัดการความรู้
คน กระบวนการความรู้ เทคโนโลยี
การใช้การจัดการความรู้ในการ
ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้
เป้าหมายความรู้
ลักษณะความรู้
ฐานความรู้
แหล่งความรู้ที่เข้าถึง ถ่ายทอด แลกเปลี่ยนสะดวก
สมาชิกกลุ่ม/ชุมชน
ผู้นำกลุ่ม/ชุมชน
นักส่งเสริม
เทคโนโลยี กระบวนการจัดการความรู้
บรรยากาศ วัฒนธรรมการทำงานของกลุ่ม/ชุมชน
การมีเครือข่าย ภาคี ชุมทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หลากหลาย
การสนับสนุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลการจัดการความรู้
แนวทางในการจัดการความรู้
การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับกลุ่ม/ชุมชน
การจัดการอยู่บนฐานทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่น
การค้นหาความรู้
การขยายผลและต่อยอดความรู้
การปรับวิธีการและเนื้อหาสาระที่จะทำการถ่ายทอด
ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการทำงานในกลุ่มและชุมชน
การจัดกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
การจัดการความรู้อย่างบูรณาการ
เน้นใช้วิธีการจัดการความรู้จากการปฏิบัติจริง
จัดทำระบบฐานข้อมูลให้เอื้อต่อการเก็บและนำมาใช้ประโยชน์
การมีผู้กระตุ้นหรือประสาน
กระตุ้นการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ในกลุ่มสมาชิกและเครือข่ายกับภายนอก
ใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเป็นตัวขับเคลื่อน
การจัดการความรู้สอดแทรกไปกับการทำงานปกติ