Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง (Ischemic stroke) (ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล,…
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง
(Ischemic stroke)
ข้อมูลส่วนบุคคล
อาการสำคัญที่มาโรงพยบาล
นั่งพักหมดสติ มีอาการประมาณ 5 นาที หายใจเบา ปากตัวเย็น ญาติลองกดหน้าอกเองที่บ้าน 5 นาที ผู้ป่วยนั่งได้ึงพามาที่โรงพยาบาล ผู้ป่วย ไม่ขยับแขนขาข้างขวา แขนซ้ายพอขยับได้ จึงพาไปโรงพยาบาลวังน้อย จ.พระนครศรีอยุธยา ในวันที่ 17/11/62 จากนั้นถูกนำตัวส่งมาที่โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ในวันเดียวกัน เวลา 11:15 น สาเหตุที่ส่ง เกินสายงานเมื่อวินิฉัยรักษา
ประวัติการเจ็บป้วยในปัจจุบัน
ขณะที่นั่งอยู่มีอาการวูป ปั้มหัวใจตื่นขึ้น มรออ่อนแรงแขนขวา พูดไม่ชัด ญาติจึงพาไปโรงพยาบาลวังน้อย เริ่มมีอาการเมื่อวันที่ 17/11/62 9:00 น ถูกส่งต่อมาโรงพยาบาลธรรมศาสตร์ในเวลา 11:15 น หลังจากนั้นเวลา 11: 51 น หลังจากนั้นได้รับยาสลายลิ่มเลือด ( rt-PA)
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
1) DM
2) HT
IMD
S/P ballon
Alchoholic
Smooking สูบบุหรีตั้งอต่อายุ 12 ปี ถึงปัจจุบัน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
3) แบบแผนการนอนผิดปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
1) จัดสิ่งแวดล้อม เสียง แสง กลิ่น
2) แนะนำให้หลีกเลี่ยงการนอนกลางวัน
3) แนะนำให้ผู้ป่วยปฏิบัติในสิ่งที่จะช่วยให้นอนหลับมากขึ้นก่อนนอน เช่น กอนเครื่องดื่มอุ่นๆ สวดมนต์
4)วางแผนกิจกรรมการพยาบาลให้เหมาะสม
5)กระตุ้นให้ผู้ป่วยปัสสาวะก่อนนอน
6)ให้ยานอนหลับ หรือยากล่อมประสาทเมื่อจำเป็นตามการรักษาของแพทย์
4) เสียงต่อการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายเนื่องจากพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมและจากปัญหาการเคี้ยว
กิจกรรมการพยาบาล
1)จัดอาหารให้ผู้ป่วยได้รับครบ 3 มื้อ และครบ 5 หมู่
2)อารควรมีลักษณะเป็นอาหารอ่อน
3)จัดอาหารให้น่ารับประทาน
2)เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหุตเนื่องจากการมองเห็นไม่ชัด(ตามัว)
กิจกรรมการพยาบาล
1) จัดของใช้ให้อยู่ใกล้พอที่ผู้ป่วยจะหยิบใช้ได้โดยไม่ต้องเอื้อมหยิบ และควรจัดสัญญานเรียก(กริ่ง) ไว้ข้างเตียง
2)ยกไม้กั้นเตียงขึ้นขึ้นทั้ง 2 ข้างเมื่อผู้ป่วยอยู่ตามลำพัง
3)แนะนำผู้ป่วยให้ระมัดระวังในการเคลือนไหว เช่น การลงจากเตียง การเดิน การให้ผู้ป่วยอาบน้ำในห้องน้ำควรมีญาติหรือพยาบาลไปด้วย
5) มีความวิตกกังวลเนื่องจากมีปัญหาเศรษฐกิจ
กิจกรรมการพยาบาล
3)ดูแลให้ผู้ป่วยได้ระบายความวิตกกังวล
2)ตรวจเยี่ยมให้คำปรึกษากับผู้ป่วยและครอบครัวให้ข้อมูลเกี่ยวกับแผนการรักษา ค่าใช้จ่าย
1)ประเมินระดับความวิตกกังวลของผู้ป่วย
1)เสี่ยงต่อการเกิดเลือดออกเนื่องจากได้รับยาละลายลิ่มเลือด
กิจกรรมการพยาบาล
1)ประเมินระบบประสาทด้วย Glasgow Coma scale ทุก 15 นาทีในระหว่างการให้ยา rt-PA จนครบ 2 ชม และประเมินทุก 30 นาที ต่อเนื่องจนครบ 6 ชม และต่อมาทุก 1ชม ให้ครบ 24 ชม
2)ประเมิน vital sing m6d ๅถ นาที เป็นเวลา 2 ชม และประเมินทุก 30 นาที เป็นเวลา 6 ชม และต่อมาทุก 1 ชม ให้ครบ 24 ชม
3) เมื่อได้รับยา rt-PA ครบ 24 ชม ดุแลให้ผู้ป่วยได้รับ CT Brain
6) ขาดประสิทธิภาพในการจัดการตนเองเกี่ยวกับการหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดความเจ็บป่วย
กิจกรรมการพยาบาล
1) ประเมินความรู้และความสนใจของผู้ป่วยต่อการดูแลสุขภาพของตนเอง
2) สร้างความตระหนักถึงความสำคัญของการมีพฤติกรรมที่ถูกต้อง โดยบอกประโยชน์ของการหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง เช่น การสูบบุหรี่ ดื่มเหล้า ความดันโลหิตสูง ประโยชน์ของการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
3) เน้นย้ำถึงอันตรายหรือผลเสียของปัจจัยเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นหากไม่มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
4) เปิดโอกาสให้ผู้รับบริการได้ซักถามถึงสิ่งที่ยังไม่เข้าใจ หรือข้อมูลต่าง ๆเพิ่มเติม
สาเหตุ