Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 18 ความเป็นครู พหุวัฒนธรรมศึกษา (การจัดการเรียนการสอนแนวพหุวัฒนธรรม,…
บทที่ 18 ความเป็นครู พหุวัฒนธรรมศึกษา
รากฐานของพหุวัฒนธรรมศึกษา
เป็นแนวคิดดั้งเดิมที่พัฒนาจากประเทศตะวันตก แนวคิดการจัดการดังกล่าวได้รับการเผยแพร่ อภิปราย และนำเสนอจากเวทีวิชาการไปสู่สถาบันและสถานศึกษาต่างๆ
พหุวัฒนธรรมศึกษา
เป็นแนวคิดพื้นฐานทางประชาธิปไตยจากตะวันตก เช่น ความอิสระ ความยุติธรรม และความเท่าเทียม
เป็นแนวคิดและแนวปฏิบัติทางการศึกษาที่มุ่งเน้นให้ผู้คนในสังคมมีความเท่าเทียม ความเสมอภาค เสรีภาพ และรักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ที่แตกต่างกัน
ความหลากหลายในห้องเรียน
เนื่องจากผู้เรียนที่เข้ามาเรียนนั้น มีความหลากหลายเชื้อชาติ ศาสนา และการดำรงชีวิต ผู้เรียนกลุ่มนี้กำลังอยู่ในสังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
ความชำนาญพหุวัฒนธรรมศึกษาสำหรับครู
รัฐบาลและโรงเรียนคาดหวังว่า ครูจะต้องเข้าใจวัฒนธรรมที่แตกต่าง สามารถปรับตัวเข้ากับผู้เรียน สามารถสอนผู้เรียนให้มีความรู้ ชำนาญในการสอนผู้เรียนที่มีวัฒนธรรมแตกต่าง
อนาคตพหุวัฒนธรรมศึกษาเป็นที่ยอมรับมากขึ้น
ปัจจุบันพหุวัฒนธรรมเป็นที่ยอมรับมากขึ้นและมีแน้วโน้มที่จะขยายไปสู่การจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนและมหาวิทยาลัยเพิ่มขึ้น ผ่านการบูรณาการในหลักสูตรและสอดแทรกในเนื้อหาของบทเรียน
ระดับห้องเรียน
เชื้อชาติและชาติพันธ์
ชาติพันธ์ เป็นกลุ่มประชากรที่เป็นสมาชิกของกลุ่มชนแต่ละคนระบุโดยอาศัยสัญชาติสามัญหรือประเพณีทางวัฒนธรรมร่วมกัน
เชื้อชาติ เป็นการอธิบายถึงแหล่งกำเนิดทางชีววิทยา อธิบายลักษณะ ทางกายภาพของบุคคลลักษณะเหล่านี้สามารถรวมทุกอย่างตั้งแต่สีผิวจนถึงสีตา และโครงสร้างใบหน้าไปจนถึงสีผมเชื้อชาติ
แนวคิดหลักเพื่อเป็นแนวทางในการศึกษากลุ่มชาติพันธ์และวัฒนธรรม
ต้นกำเนิดและการเข้าเมือง
วัฒนธรรมที่ใช้ร่วมกันค่านิยม และสัญลักษณ์
อัตลักษณ์ทางชาติพันธ์ และความรู้สึกของคน
มุมมองโลกทัศน์และกรอบอ้างอิง
สถาบันชาติพันธ์ และการตัดสินใจด้วยตนเอง
สถานะทางประชากรศาสตร์ สังคม การเมือง และเศรษฐกิจ
ความไม่ยุติธรรม การเลือกปฏิบัติ และการแบ่งแยกเชื้อชาติ
ความหลากหลายของวัฒนธรรม
การกระตุ้น และการรับวัฒนธรรม
การปฏิวัติ
การสร้างองค์ความรู้
ความหลากหลายทางเชื้อชาติในอนาคต
ชนชั้นและสถานภาพทางสังคม และเศรษฐกิจ
เป็นการแบ่งคนในสังคมซึ่งมีพฤติกรรมและแบบแผนการดำเนินชีวิตที่แตกต่างกันอย่างเด่ดชัดออกเป็นกลุ่มๆ
เกณฑ์ที่ใช้ในการแยกชั้นทางสังคมของบุคคล
สถานภาพทางสังคม
คือตำแหน่งทางสังคมของคนในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง
สถานภาพทางสังคม เศรษฐกิจ
ประกอบด้วย รายได้ การศึกษา อำนาจ
สัญลักษณ์ทางสถานภาพ
เช่น เครื่องแต่งกาย ลักษณะการพูดการสนทนา
ความแตกต่างของชนชั้น
Middle class เป็นกลุ่มผู้จบปริญญาตรี ทำงานในสำนักงาน เป็นมนุษย์เงินเดือน
Working class เป็นกลุ่มคนทำงานที่ต้องใช้แรงงานตามโรงงาน
Upper class เป็นกลุ่มชั้นผู้นำ นามสกุลดัง ร่ำรวยระดับโลก
Lower class เป็นกลุ่มที่ศึกษาต่ำกว่ามัธยมปลาย ทำงานใช้แรงงานระดับล่าง
ความเสมอภาคทางการศึกษาของชนชั้น และสถานภาพทางสังคม เศรษฐกิจ
เป็นการให้สิทธิและโอกาสในการรับการศึกษาแก่ทุกกลุ่มคนในสังคม โดยไม่ขึ้นกับความแตกต่างกัน
เพศและสถานะทางเพศ
บทบาททางเพศ
ทุกๆสิ่งที่เรารู้สึก คิด พูด และกระทำต่อตนเอง และต่อผู้อื่น ว่าเราเป็นผู้ชายหรือผู้หญิง
สถานะภาพทางเพศ
รูปแบบพื้นฐานของอารมณ์ ความใคร่ หรือความสนใจทางเพศต่อชาย หญิง หรือเพศที่สาม
เอกลักษณ์ทางเพศ
ความรู้สึกที่มีต่อตนเองว่าเป็นหญิงหรือเป็นชาย
ความพิเศษ
ส่งเสริมแนวคิดการรวมผู้พิการ เข้าเป็นส่วนหนึ่งของสังคม โดยกำหนดให้ผู้เรียนกลุ่มนี้เข้าเรียนร่วมกับผู้เรียนปกติ
ความสำคัญของศาสนา
เป็นเครื่องมือในการอบรมสั่งสอน
ทำให้การปฏิบัติตนของสมาชิกในสังคมเป็นบรรทัดฐานเดียวกัน
เป็นบ่อเกิดแห่งความสามัคคี
หลักคำสอนต่างๆของศาสนาที่ประพฤติปฏิบัติสืบทอดกันมายาวนาน
เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ
เป็นสัญลักษณ์ของสังคม
เป็นมรดกของสังคม
ขอบเขตของพหุวัฒนธรรมศึกษา
คือ ตระหนักถึงคุณค่าของความหลากหลายในเชิงบวก ซึ่งแสดงผลให้เป็นองค์รวมของความรู้ในวัฒนธรรมที่แตกต่างในตัวผู้เรียน ประกอบด้วย เพศ อายุ เชื้อชาติ ภาษา ศาสนา ภูมิศาสตร์ ชนชั้น ความพิเศษ ฯลฯ ทุกคนควรแสดงความรับผิดชอบร่วมในการช่วยเหลือและสนับสนุน
จุดเน้นสำคัญในการพัฒนาพหุวัฒนธรรมศึกษา 5 ด้าน
การบูรณาการเนื้อหา
กระบวนการสร้างความรู้
การลดอคติ
การจัดการเรียนการสอนอย่างเท่าเทียมและเสมอภาค
การเสริมสร้างศักยภาพของพหุวัฒนธรรม และโครงสร้างทางสังคมในโรงเรียน
โรงเรียนแนวพหุวัฒนธรรมศึกษา มีคุณลักษณะ 8 ประการ
เจตคติ มุมมอง ความเชื่อ และการปฏิบัติของบุคลากรในโรงเรียน
แบบแผนของหลักสูตรและวิชาที่สอน
การเรียนการสอนและรูปแบบวัฒนธรรมของโรงเรียน
สื่อและวัสดุการสอน
การประเมินและวิธีการทดสอบ
วัฒนธรรมโรงเรียนและหลักสูตรเพิ่มเติม
โปรแกรมให้การศึกษา
การจัดการเรียนการสอนแนวพหุวัฒนธรรม
การเรียนการสอนแบบพหุวัฒนธรรม
การเริ่มต้นการเรียนการสอนแบบพหุวัฒนธรรม ไมมีกฏตายตัวในวิธีสอน ในระหว่างการสอนของครูจะต้องใช้วิธีการสังเกต และเปิดใจให้กว้าง ยอมรับวัฒนธรรมที่แตกต่าง
การสร้างบรรยากาศของห้องเรียนที่เป็นพหุวัฒนธรรม
ตระหนักเสมอว่าผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้ได้
ทราบถึงประวัติความเป็นมาและประสบการณ์ของผู้เรียน
สนับสนุนให้สิทธิเสรีภาพและความแตกต่างด้านวัฒนธรรม
พยายามทำความเข้าใจ เรื่องการเหยียดชนชาติ เหยียดเพศ แบ่งชนชั้น
ให้ความสนใจในความยุติธรรม และความเท่าเทียมกันในสังคม
เข้าร่วมในกิจกรรมต่างๆเพื่อให้เข้าใจถึงสังคมที่ยุติธรรม
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในกระบวนการสอน
การเรียนการสอนเพื่อความเสมอภาคในสังคม
บรรยากาศในโรงเรียน
หลักสูตรซ่อนเร้น
การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ข้อความที่ส่งถึงผู้เรียน
การพูดถึงความยุติธรรมและเสริมพลัง
ความสัมพันธ์ของผู้เรียนและครู
พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์
การสื่อสารของครูและผู้เรียน
การพัฒนาความชำนาญด้านพหุวัฒนธรรม
นำการฝึกฝนมาใช้
การสอนในฐานะกิจกรรมทางสังคม
รู้จักตนเองและผู้อื่น
มุ่งที่ห้องเรียน