Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:warning:ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล :warning: (มีโอกาสเกิดภาวการณ์แตกทำลายของ…
:warning:ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
:warning:
มีโอกาสเกิดภาวการณ์แตกทำลายของผิวหนัง(Skin break down)
เนื่องจากความไม่สมบูรณ์ของโครงสร้าง
:pencil2: ข้อมูลสนับสนุน
:red_flag:Objective data
ผู้ป่วยมีผื่นบริเวณท้องด้านล่างซ้าย
ผู้ป่วยได้รับการทำ Phototherapy
ผู้ป่วยได้รับการon HHHFNC
:red_flag:Subjective data
: None
:star: กิจกรรมการพยาบาล
1.การดูแลผิวหนังทั่วไป ทำความสะอาดผิวหนังด้วย
น้ำต้มสุก หรือผลิตภัณฑ์สำหรับทารกโดยเฉพาะ
2.หลังจากทำความสะอาดร่างกายทารกแล้ว อาจใช้สารที่ให้
ความชุ่มชื้นแก่ผิวหนัง เช่น น้ำมัน หรือครีมที่ใช้สำหรับทารก
3.การติดพลาสเตอร์บนผิวหนัง ควรใช้พลาสเตอร์ขนาดเล็กที่สุดเท่าที่จะทำได้
เพื่อลดบริเวณที่ต้องสัมผัสกับพลาสเตอร์ ก่อนติดพลาสเตอร์ควรใช้ tegaderm,
หรือ hydrocolloid skin barrier ปิดก่อน เพื่อกั้นระหว่างผิวหนังกับพลาสเตอร์
หลีกเลี่ยงการใช้สารระคายเคือง เช่น แอลกอฮอล์ ทิงเจอร์ และเมื่อต้องการ
แกะพลาสเตอร์ควรใช้สำลีหรือผ้าก๊อซชุบน้ำสบู่อุ่นๆค่อยๆซับและดึงออก
5.การใช้สารเคมีบนผิวหนัง ควรหลีกเลี่ยงหรือจำกัดสารที่จะมีผลระคายเคือง
ต่อผิวทารกแต่หากมีความจำเป็นควรใช้ในปริมาณที่น้อยที่่สุด
6.ควรหลีกเลี่ยงการเพิ่มอุณหภูมิด้วยการใช้หลอดความร้อน(heat lamps)
ส่องที่ทารกโดยตรง หากจำเป็นต้องใช้ควรสังเกตผิวหนังบริเวณที่ถูกความร้อน
ทุกๆ 15 นาที และเปลี่ยนท่าทารกทุก 1-2 ชั่วโมง
เสี่ยงต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการล่าช้า เนื่องจากระบบประสาทยังเจริญไม่สมบูรณ์
:pencil2: ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยเป็นทารกคลอดก่อนกำหนด GA 29+2 weeks
จากการประเมินพัฒนาการ
โดยใช้เครื่องมือ DAIM
ผู้ป่วยไม่ได้ดูดนมแม่ (PS)
ผู้ป่วย on Orograstric tube feeding
ผู้ป่วยไม่สามารถเปล่งเสียง
ที่ไม่ใช่เสียงร้องไห้ได้(RL)
ผู้ป่วยไม่มีปฏิกิริยาใดๆ
เมื่อได้ยินเสียงยพูดในระดับปกติ
ผู้ป่วยไม่สามารถมองสบตา
ขณะตื่นนอนได้(FM)
:red_flag:Objective data
:red_flag:Subjective data
: None
:star: กิจกรรมการพยาบาล
กระตุ้นประสาทสัมผัส
ด้านการได้ยิน
1.พูดคุยด้วยน้ำเสียงที่มีจังหวะต่ำและนุ่มนวล
2.เรียกชื่อทารกและพูดคุยด้วยขณะดูแลทารก
หลีกเลี่ยงการพูดคุยเสียงดังรอบๆตัวทารก
4.ปิดสัญญาณเตือนของอุปกรณ์
ที่ใช้กับทารกเมื่อได้ยินครั้งแรก
กระตุ้นประสาทสัมผัส
ด้านการมองเห็น
1.ใช้ผ้าคลุมตู้อบหรือเปิดไฟให้มีแสงสลัวแต่
เพียงพอที่จะสังเกตสีผิว และควรเปิดผ้าคลุม
ตู้อบในระยะที่ทารกตื่นหรือดื่มนม เพื่อปรับเวลา
ให้สอดคล้องกับเวลากลางวันและกลางคืน
กระตุ้นประสาทสัมผัส
ที่ผิวหนังและการเคลื่อนไหว
1.ลูบหรือสัมผัสทารกตั้งแต่ศีรษะถึงปลายเท้าด้วยมือที่อุ่น
2.จัดทำอุปกรณ์ล้อมรอบตัวทารกโดยการใช้ผ้าห่มม้วนกลม
หนุนหลังเมื่อทารกนอนตะแคงหรือโอบรอบตัวทารก ซึงจะ
ทำให้ทารกอยู่เหมือนในครรภ์มารดา
3.เปลี่ยนท่านอนทารกช้าๆ ทุก 2 ชั่วโมง
4.ประเมินการกระตุ้นประสาทสัมผัสที่ผิวหนังมากเกิน ได้แก่ การเคลื่อนไหวมากเกิน
ลดวามเจ็บปวดจากการทำหัตถการโดยการห่อตัว ใช้ผ้าม้วนกลม
ล้อมรอบตัวทารก การวางมือสัมผ้สบริเวณศีรษะเเละเท้า
กำหนดกิจกรรมการพยาบาลให้เสร็จสิ้นใน
เวลาเดียวกัน เพื่อให้ทารกมีระยะพักนาน