Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา (บทบาทหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องในการป…
การดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
บทบาทหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องในการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
บทบาทของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา
บทาทของครูและบุคลากรในสถานศึกษา
บทบาทของกรรมการสถานศึกษา
บทบาทของพ่อแม่ ผู้ปกครอง
บทบาทของชุมชน
บทบาทสื่อมวลชล
บทบาทของผู้เรียน
ปัญหา อุปสรรค และปัจจัยความสำเร็จในการดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
กลุ่มที่ 1 ปัญหากี่ยวเนื่องกับควาเข้าใจเรื่องการประกันคุณภาพ
กลุ่มที่ 2 ปัญหาที่เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติเรื่่องการประกันคุณภาพ
กลุ่มที่ 3 ปัญหาเกี่ยวเนื่องกับการใช้ผลจากการประเมินและตรวจสอบ
ปัจจัยความสำเร็จในการประกันคุณภาพ
ปัจจัยด้านคน
ผู้บริหารที่มีภาวะผู้นำ
กรรมการสถานศึกษาต้องมีความรู้ความเข้าใจ
ปัจจัยด้านระบบ
ปัจจัยด้านการจัดการ
การสื่อสาร
การกำกับติดตาม
ความร่วมมือ
วัฒนธรรมองค์การ
การสร้างวัฒนธรรมคุณภาพ
แบบแผนวัฒนธรรมคุณภาพ
ทำให้ถูกต้องตั้งแต่เริ่มต้นและตลอดไป
ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
เพิ่มมาตรฐานในการทำงาน
ทำงานเป็นทีม
ทำงานเป็นระบบ
มุ่งความพอใจของผู้รับบริการมีเป้าหมายและวิสัยทัศน์เพื่อเ็นจุดชี้นำ
มุ่งมั่นและศรัทธาในการทำงาน
แนวทางในการสร้างวัฒนธรรมคุณภาพ
การประเมินวัฒนธรรมที่มีอยู่ในองค์การ
การกำหนดรูปแบบของวัฒนธรรมในองค์การใหม่
การนำวัฒมนธรรมใหม่ไปใช้
ขั้นตอนการดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ขั้นตอนการประกันภายในสถานศึกษา
การพัฒนาคุณภาพ
การตรวจสอบทบทวนปรับปรุงคุณภาพ
การประเมินคุณภาพการศึกษา
หลัก 8 ประการในการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพ
จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
ดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายใน
จัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน
จัดให้การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง