Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Lung Cancer
D551CA21-F101-460E-93A7-29F91FC0D435 (Present illness (4…
Lung Cancer
ข้อมูลพื้นฐาน
-
-
การวินิจฉัยโรคครั้งสุดท้าย : Cancer lung with Pleural effusion (โรคมะเร็งปอดและภาวะน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด)
-
Chief Complaints
1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการเหนื่อยจนหายใจไม่ออก
Present illness
-
-
-
-
-
1 วันก่อนมาโรงพยาบาลขณะเดินไปห้าง Central world มีอาการ หอบเหนื่อยแต่ไม่ได้เป็นมากจึงกลับมาพัก รู้สึกดีขึ้น
-
พยาธิสรีรภาพ
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
บุหรี่
-
ผู้ป่วยที่ไม่สูบหรี่แต่หายใจเอาควันบุหรี่เข้าไป เพราะอยู่ใกล้กับผู้สูบ มีโอกาสเป็นบุหรี่เพิ่มขึ้น 30%
-
มลภาวะเป็นพิษ
เช่น ควันท่อไอเสีย ฝุ่น อาจทำให้เป็นมะเร็งปอดเพิ่มขึ้น และผู้ที่อยู่ในเมืองมีโอกาสเป็นมะเร็งปอดมากกว่าผู้ที่อยู่ชนบท 1.2-2.3 เท่า
-
โรคปอด
-
-
อายุ
ความเสี่ยงของโรคมะเร็งปอดเพิ่มขึ้นตามอายุ ซึ่งประมาณ 2 ใน 3 ของผู้ป่วยมะเร็งปอดได้รับการวินิจฉัยเมื่อมีอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป (เฉลี่ยประมาณ 70-74 ปี)
-
บุคคลที่มีสมาชิกในครอบครัวเป็นโรคมะเร็งปอด
บิดาของผู้ป่วยมีประวัติเสียชีวิตด้วยโรคปอด
การวินิจฉัย
Chest x-ray
Normal lung
Abnormal lung
CT Chest
สามารถตรวจพบความผิดปกติได้มากกว่า สามารถตรวจหาก้อนมะเร็งได้อย่างชัดเจน
Pleural effusion
-
น้ำจากช่องปอดของผู้ป่วย
-
ชนิดของมะเร็งปอด
-
-
การใส่สายระบายผ่านทางผิวหนัง (Percutaneous Drainage)
เป็นการนำของเสียที่อยู่ในร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นน้ำเหลือง น้ำหนอง น้ำปัสสาวะ หรือน้ำดี ที่ตกค้างในร่างกาย หรือมีการอุดตันของท่อระบายปกติของร่างกาย ด้วยวิธีใส่สายระบายผ่านทางผิวหนัง เพื่อหลีกเลี่ยงการผ่าตัด ผู้ป่วยไม่ต้องเสี่ยงต่อการผ่าตัด ใช้ระยะพักฟื้นน้อยกว่าการผ่าตัด
ผู้ป่วย On Percutaneous Drainage ตั้งแต่วันที่ 9/09/62 เพื่อระบาย Exudate ออกจากเยื่อหุ้มปอดของผู้ป่วย
ลักษณะ Exsudate ที่ออกมาของผู้ป่วย
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
-
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 5 :
ผู้ป่วยและญาติมีความวิตกกังวล
เนื่องจากขาดความรู้เกี่ยวกับโรคและการดูแลผู้ป่วยหลังกลับบ้าน
ข้อมูลสนับสนุน
SD :
-ผู้ป่วยบอกว่า “กลัวกลับไปทำงานเหมือนเดิมไม่ได้ เคยทำอะไรด้วยตัวเอง”
-ผู้ป่วยบอกว่า “นอนไม่หลับ ต้องพึ่งยานอนหลับ”
-ญาติผู้ป่วยคอยสอบถามอาการผู้ป่วยและความก้าวหน้าของการรักษาบ่อยครั้ง
OD :
-ญาติแสดงสีหน้าความวิตกกังวลขอเฝ้าผู้ป่วย เนื่องจากกลัวผู้ป่วยเสียชีวิต
-ผู้ป่วยมีสีหน้าวิตกกังวล
-สภาพร่างกายของผู้ป่วยเริ่มอ่อนกำลังลง เหนื่อยเวลาพูดและทำกิจกรรมเยอะๆ
วัตถุประสงค์
- เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วย
- เพื่อให้ผู้ป่วยนอนหลับพักผ่อนได้
- สภาพร่างกายของผู้ป่วยแข็งแรงขึ้น ไม่เหนื่อยเวลาทำกิจกรรม
เกณฑ์การประเมิน
- ญาติคลายความวิตกกังวลและตอบคำถามเกี่ยวกับ ดูแลผู้ป่วยได้ถูกต้อง
- สีหน้า ท่าทางของผู้ป่วยไม่มีความวิตกกังวล ไม่มีเหนื่อยหอบ
- ผู้ป่วยนอนหลับพักผ่อนเต็มอิ่ม มีความสดชื่น
กิจกรรมการพยาบาล
- ประเมินผู้ป่วยวิตกกังวลเนื่องจากสภาพร่างกายที่เปลี่ยนแปลงไปจากอาการเจ็บป่วย โดยใช้แบบประเมินความวิตกกังวล
-
- ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย เช่น ให้อยู่ในที่อากาศบริสุทธิ์ ปลอดโปร่ง สดชื่น
- สร้างสัมพันธภาพที่ดีพูดคุยกับญาติผู้ป่วยด้วย ท่าทางอ่อนโยน ให้กำลังใจ ตั้งใจรับฟังปัญหาและช่วยเหลือ ประคับประคองด้านจิตใจแก่ครอบครัวผู้ป่วย เพื่อให้เกิด ความคุ้นเคยและไว้วางใจ
- ช่วยประสานให้พบแพทย์เพื่อรับฟังการดำเนิน ของโรค อธิบายให้ญาติทราบ เข้าใจข้อมูลเกี่ยวกับแผนการรักษาของแพทย์ พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ญาติซักถามอาการ หรือปัญหาข้อข้องใจต่างๆ และมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยในทุกระยะของการเจ็บป่วย อธิบายให้ญาติทราบทุกครั้ง ก่อนให้การพยาบาล
- ให้ผู้ป่วยได้พูดคุย ระบายความรู้สึกเกี่ยวกับประสบการณ์การปรับตัวของผู้ป่วยในอดีต
- แนะนำให้ญาติให้กำลังใจผู้ป่วย พูดให้ผู้ป่วยเห็นความสามารถของตนเอง ไม่แสดงท่าทีรังเกียจหรือหวาดกลัวต่อสภาพที่ผู้ป่วยเป็นอยู่
- กระตุ้นให้ญาติมีส่วนร่วมในการให้กำลังใจ ร่วมทำกิจกรรมต่างๆ ของผู้ป่วย พร้อมทั้งส่งเสริม ช่วยเหลือผู้ป่วยในการปฏิบัติตัว
- จัดสิ่งแวดล้อมในห้องผู้ป่วยให้สะอาด ผ่อนคลายและเป็นระเบียบเรียบร้อย แนะนำให้ผู้ป่วย เปิดม่าน เปิดหน้าต่างเพื่อให้อากาศถ่ายเท เพื่อทำให้ผู้ป่วยรู้สึกผ่อนคลายความวิตกกังวลและสามารถนอนหลับได้ดีขึ้น
- แนะนำให้ผู้ป่วยหลีกเลี่ยงสถานที่ที่ทำให้ผู้ป่วยระคายเคือง เช่น ควันบุหรี่ ควันท่อรถ ควันจากอุตสาหกรรม ฝุ่น
- สอนเทคนิคการเผชิญปัญหาเวลาที่มีอาการหายใจลำบากให้กับผู้ป่วยและครอบครัว เช่น เปิดพัดลมถ่ายเทอากาศได้ดี จัดท่าศีรษะสูง เทคนิคการผ่อนคลาย
- วางแผนจำหน่ายผู้ป่วยโดยให้คำแนะนำ และทบทวนการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยหลังกลับบ้านและการสังเกตสิ่งผิดปกติที่ต้องกลับมาตรวจซ้ำ เช่น ปวดศีรษะ รุนแรง อาเจียน ซึมลง ชัก มีไข้สูง
การรับประทานยา การ มาตรวจตามนัด ส่งปรึกษากายภาพบาบัดและโภชนาการ
ประเมินผลการพยาบาล
- ผู้ป่วยมีความวิตกกังวลกับโรคที่เป็นอยู่
- ญาติพยายามคุยสนุกสนานเพื่อสร้างบรรยากาศที่ผ่อนคลาย
- ญาติมีความเข้าใจกับภาวะของผู้ป่วย
-
-
-