Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 ความเป็นครุ จิตวิญญาณความเป็นครู (5.แนวการเสริมสร้างศักยภาพให้มีจิ…
บทที่ 7 ความเป็นครุ จิตวิญญาณความเป็นครู
5.แนวการเสริมสร้างศักยภาพให้มีจิตวิญญาณของความเป็นครู
วิถีปฎิบัติสู่ความพร้อมแห่งจิตวิญญาณครูนั้นช่วยในการเสริมสร้างอันความดีเจริญงอกงามให้มีขึ้นทั้งต่อบุคคลและสังคมอย่างยั่งยืน ประกอบด้วย 6 ด้าน
เคารพต่อตนเองและผู้อื่น เชื่อมั่นในสิ่งที่ทำ
ใช้ชีวิตอยู่ทั่วจักรวาล
ยึดหลักศาสนธรรม
ครึ่งหนึ่งของชีวิตอุทิศเพื่อสังคม
ความเจริญและสมดุลด้านความเฉลียวฉลาดทางสติปัญญา
ครู คือผู้สร้างค่านิยม กระแสสังคม การกระทำใดๆ
2.การปลูกฝัง จิตวิญญาณ
กุศโลบายหรือวิธีการอันแยบคายในการประพฤติปฏิบัติประกอบ 5 ประการ
3.การรักษาความจริงใจทั้งต่อตัวเองและผู้อื่น
4.การกำจัดจิตใจที่ต่ำทราม
การไม่ประมาทมีสติปัญญา ความรู้ ความฉลาด ความสามารถทั้งของตนเองและผู้อื่น
การรู้จักสงบใจ
1.การสร้างความศรัทธาความเชื่อถือในงานที่ทำ
1.ความหมาย จิตวิญญาณครู
จิตวิญญาณครูหมายถึง จิตสำนึก ความคิด ทัศนคติ พฤติกรรมการแสดงออกที่ดี เป็นประโยชน์ตามกรอบของจริยธรรม คุณธรรม ค่านิยม จารีตประเพณี วัฒนธรรม และความคาดหวังของสังคม
3.ความสำคัญของจิตวิญญาณของความเป็นครู
การพัฒนาจิตวิญญาณความเป็นครูเบื้องต้นเพื่อสร้างความสำเร็จในการทำงานฐานะวิชาชีพครู ซึ่งจัดเป็นวิชาชีพชั้นสูงด้วยหลักการของ D-E-V-E-L-O-P ดังนี้
รักงานที่ทำ
จัดการเป็นเลิศ
กระตือรือร้นอยู่เสมอ
หลากหลายความสามารถ
มุ่งเน้นความอดทน
คิดเชิงบวก
การไม่หยุดหยั้งการพัฒนา
4.การพัฒนาจิตวิญญาณของความเป็นครู
มีการพัฒนา 3 ช่วง
1.ช่วงการพัฒนาสู่การเป็นผู้มีจิตวิญญาณความเป็นครู
มีประสบการณ์ในการเผชิญและพบเห็นสภาพชีวิตที่ยากลำบาก
ความผูกพันระหว่างครูกับศิษย์
แรงจูงใจในการเข้าสู่อาชีพครู
คุณลักษณะพื้นฐานทางจิตวิทยา
การมีตัวแบบจิตวิญญาณ
2.ช่วงการเป็นผู้มีจิตวิญญาณความเป็นครู
ปฏิบัติตนอยู่บนวิถีแห่งความเป้นครู
มีเป้าหมายในการทำงานเพื่อเด็ก
การที่บุคคลตระหนักรู้ในความเป็นครู
ปฏิบัติต่อผู้เรียนด้วยความรักและความเมตตา
3.ช่วงการคงอยู่ของการเป็นผู้มีจิตวิญญาณความเป็นครู
ส่วนที่ช่วยค้ำจุนการเป็นผู้มีจิตวิญญาณความเป็นครู 4 ประเด็น
ความสุข
ความภาคภูมิใจ
ความผูกพันระหว่างครูกับศิษย์
ศรัทธาต่อบุคคลผู้ทรงคุณค่าของแผ่นดิน