Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Severe MR(โรคลิ้นหัวใจไมทรัลรั่ว) (ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล…
Severe MR(โรคลิ้นหัวใจไมทรัลรั่ว)
ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพของผู้รับบริการ
Chief Complaint (CC): มาตามนัดเพื่อผ่าตัด
Present Illness (PI): 1ปีก่อนมา มีอาการเหนื่อยหอบ มีไข้ไม่หาย ไปรักษาที่รพ.หนองหานไม่ดีขึ้นจึงไปรักษาที่คลินิกใกล้บ้านหมอแนะนำว่าควรไปรักษาที่ รพ.กุมภวาปี ผู้ป่วยจึงได้ไปรักษาที่ รพ.กุมภวาปี ได้รับการวินิจฉัยเป็นเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ทำการEchoพบsevere MR จึงส่งต่อเพื่อมาผ่าตัดที่ รพ.ศูนย์อุดรธานี ผู้ปฏิเสธการผ่าตัด หลังจากได้รับATBครบ จึงD/C และได้รับยาWarfarinจากรพ.ศูนย์อุดรธานีอย่างต่อเนื่อง
1สัปดาห์ก่อนมามีอาการเหนื่อย หายใจไม่อิ่ม จึงมาพบแพทย์ที่รพ.ศูนย์อุดรธานีและวันนี้(06/11/62)มาตามนัดเพื่อผ่าตัด
การผ่าตัด : MV repair (ผ่าตัดซ่อมแซมลิ้นหัวใจไมทรัล) 08/11/62
พยาธิสรีรภาพ
: การที่ลิ้นหัวใจปิดไม่สนิท เมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัวจะทำให้มีเลือดถูกบีบย้อนกลับไปที่ห้องบนซ้ายได้ด้วย ทำให้ความดันในห้องหัวใจห้องบนซ้ายสูงขึ้น ทำให้ความดันในระบบไหลเวียนปอดเพิ่ม และลิ้นหัวใจไมตรัลรั่ว
สาเหตุ
เกิดจากผู้ป่วยติดเชื้อViridans Streptococciจากการถอนฟันเชื้อแพร่กระจายเข้าสู่หัวใจทางกระแสเลือด
การติดเชื้อที่เยื่อหุ้มหัวใจ
(Infective Endocarditis)
การวินิจฉัย
การติดเครื่องบันทึกคลื่นหัวใจไฟฟ้า
(Holter Monitoring)
Atrial Fibrillation หรือ AF (ภาวะหัวใจห้องบนเต้นสั่นพลิ้ว)
การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
(Echo)
EF 52.88%
Severe MR
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก Chest x-ray
การฟังเสียงหัวใจ
พบเสียงฟู่ของลิ้นหัวใจ
อาการ
-เหนื่อย
-หัวใจเต้นเร็วกว่าปกติ
-ใจสั่น
การรักษา
การรักษาด้วยการผ่าตัดMV repair (ผ่าตัดซ่อมแซมลิ้นหัวใจไมทรัล) 08/11/62
การรักษาด้วยยา
Warfarinรับประทานวันละ 1/2 x1 o hs
เพื่อป้องกันการเกิดลิ่มเลือดอุดตันหลังผ่าตัดซ่อมแซมลิ้นหัวใจ
Cefazolin1 gm v q 6 hr
เพื่อป้องกันการติดเชื้อหลังผ่าตัดซ่อมแซมลิ้นหัวใจ
Furosemide/Lasix10 mg v / Lasix 20 mg v stat
เหตุผลการใช้ยา เพื่อช่วยขับน้ำส่วนเกินออกจากร่าง
50%MgSO4 4 ml + 5% DW 100 ml v drip in 4 hr
เพื่อป้องกันการเกิดภาวะHypomagnesemia
Cordarone 600 mg + 5% DW 500 ml v drip in 4 hr
เพื่อลดอัตราการเต้นของหัวใจ
Ranitidine 50 mg v q 8 hr
เพื่อยับยั้งการหลั่งกรดในกระเพราะอาหารหลังการผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะหัวใจห้องบนสั่นพลิ้ว (Atrial Fibrillation)
การติดเชื้อที่เยื่อหุ้มหัวใจ (Infective Endocarditis)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีโอกาสปริมาณเลือดสูบฉีดออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลงเนื่องจากหัวใจยังทำงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ
ดูแลให้ผู้ป่วยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของหัวใจคือ Adrenaline (4:100) v 5 cc/hr
มีโอกาสเกิดการติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัดเนื่องจากการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ
ดูแลDressingแผลด้วยเทคนิคปราศจากเชื้อทุกวันวันละ1ครั้ง
มีภาวะโซเดียมในเลือดต่ำ
หมั่นสังเกตพูดคุยและสอบถามผู้ป่วยร่วมกับตรวจร่างกายเกี่ยวกับอาการของภาวะโซเดียมในเลือดต่ำทั้งระดับเล็กน้อยและรุนแรงได้แก่อาการอ่อนเพลียเบื่ออาหารคลื่นไส้อาเจียนปวดศีรษะสับสนการตอบสนอง
ลดลง
เสี่ยงต่อการเกิดอันตราย จากภาวะเลือดออกง่ายหยุดยาก
หลีกเลี่ยงการฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ หรือเจาะเลือด ระมัดระวังเรื่องการฉีดยา การเจาะเลือด การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ควรเลือกหัวเข็มขนาดเล็ก
มีโอกาสติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ดูแลสายสวนปัสสาวะไม่ให้หักพับงอและแขวนถุงปัสสาวะไว้ต่ำกว่ากระเพราะปัสสาวะและสูงกว่าพื้นอย่างน้อย1ฟุต
ความสามารถในการทำกิจกรรมลดลงเนื่องจากโรคที่เป็น
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจกรรมต่างๆ ตามความเหมาะสม
ขาดความรู้ในการปฏิบัติตัวขณะเจ็บป่วยและเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ให้คำแนะนำการปรับพฤติกรรมการดำเนินชีวิตที่เป็นปัจจัยส่งเสริมการเจ็บป่วย
ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผล
ดูแลจัดท่าให้ผู้ป่วยสุขสบาย ให้พักผ่อนบนเตียงช่วยเหลือกิจกรรมตามสมควร และให้ยาบรรเทาอาการปวดตามแผนการรักษาของเเพทย์