Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 15 กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร…
หน่วยที่ 15 กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวิเคราะห์และกระบวนการสังเคราะห์การส่งเสริม
ความหมายของการวเคราะห์
คือ
การจำเเนกแยกแยะสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
ด้วยการ
ทดลองสังเกต
การทำการแตกประเด็น
กระบวนการสำคัญในการวิเคราะห์ระบบ
ดังนี้
กำหนดปัญหาที่ไม่แน่นอน
กำหนดเป้าหมายตามวิสัยทัศน์
ตรวจสอบความน่าเชื่อถือ
ประเมินค่าเบื้องต้น
กำหนดทางเลือกที่เหมาะสม
สืบค้น วิเคราะห์
สร้างเครื่องมือ
การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม
พื้นฐานความคิดการวิเคราะห์ที่สำคัญ
การวิเคราะห์ระบบเพื่อหาทางตอบโจทย์ที่ต้องการ
การวิเคราะห์ข้อมูล
เทคนิคการวิเคราะห์ที่สำคัญ
ได้แก่
การวิเคราะห์วิธีการของความคิดสร้างสรรค์
การวิเคราะห์ลักษณะทางสัณฐานวิทยา
วิเคราะห์การตลาด
วิเคราะห์แบบสร้างภาพอนาคต
กรอบสำคัญข้อมูลในการวิเคราะห์
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การวินิจฉัยนวัตกรรม
กระเเสสังคม
เทคนิคและวิธีการรวบรวม
เหตุผลการวิเคราะห์เพื่อคาดการณ์
การสังเคราะห์และกระบวนการสังเคราะห์การส่งเสริม
กระบวนการที่สำคัญ
ได้แก่
กำหนดเป้าหมาย
การกำหนดประเด็น
มีกรอบแนวคิดเหมาะสม
จัดระบบข้อมูล
จัดกลุ่มข้อมูลเรื่องราว
เรียงลำดับตามขั้น
ผลลัพธ์
ข้อพิจารณาในการสังเคราะห์
นวัตกรรมก้าวกระโดด
การขยายตัวของสังคมเมือง
กระแสภูมิภาคนิยม
การเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
ทิศทางและเเนวทางเลือกที่สำคัญของการส่งเสริมฯ
พื้นฐานความคิดของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม
ดังนี้
การกำหนดวิสัยทัศน์
กำหนดกลยุทธ์หลัก
กำหนดกลุ่มเป้าหมาย
ปัญหาและสาเหตุสำคัญ
ได้แก่
หนี้ในครัวเรือน
การส่งออกภาคอาหารและอุตสาหกรรม
การเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวทางการตลาด
นวัตกรรมเทคโนโลยี
การพัฒนาแบบยั่งยืน
ความจำเป็นในการพัฒนาผู้ประกอบการ
แนวคิดการเข้าสู่เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
สาเหตุที่ไทยต้องขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม
ดังนี้
การขยายตัวทาเศรษฐกิจ
ความสำคัญของการใช้นโยบาย
การผลิตที่ล้นความต้องการ
การปรับเปลี่ยนภาคการเกษตรและอาหารสู่เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
ประกอบด้วย
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม
แนวคิดการยกระดับมาตรฐานอาหารไทย
แนวคิดด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
แนวคิดเทคโนโลยีดิจิทัล
แนวคิดด้านพลังงานทางเลือก
การพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรอย่างยั่งยืน
การเพิ่มตลาดใหม่
พื้นฐานความคิดที่เกี่ยวข้อง
ทิศทางและเเนวทางเลือกที่สำคัญของเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
ดังนี้
กลุ่มสินค้าเป้าหมาย
การดูแลเน้นหนักเศรษฐกิจ
การเสริมสร้างศักยภาพเศรษฐกิจ
ภาคเอกชนะมีบทบาทเพิ่มมากขึ้น
การปรับตัวตามแนวทางเลือกใหม่
การปฎิบัติตามเงื่อนไขกระเเสของโลกด้านการพัฒนา
การปฎิบัติตามเงื่อนไขการพัฒนา
ดำเนินการที่ตอบสนองมาตรฐานโลก
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรด้านนวัตกรรม
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรในการตอบโจทย์ของการกระจายความเสมอภาค ด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม
ความสามารถในการรับมือได้กับประเทศไทย 4.0
ได้แก่
การลดความเสี่ยงน้อยที่สุด
การปรับเปลี่ยนบางด้าน
การตอบโจทย์ในอนาคต
การกำหนดยุทธศาสตร์
ดังนี้
การทำงาน 4 ระยะของกระทรวงพาณิชย์
คือ
ดำเนินการเเบบเร่งด่วน
ผลักดันให้ไทยอยู่ในห่วงโซ่สำคัญของภูมิภาค
เป็นห่วงโซ่โลก
เน้นพัฒนาศักยภาพประเทศ
เป้าหมายยุทธศาสตร์ที่สำคัญ
คือ
สร้างความเข้มเเข็งทางเศรษฐกิจ
สร้างโอกาสทางเศรษฐกิจ
สร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
ยุทธศาสตร์รวม 4 ด้าน
คือ
พัฒนาผู้ประกอบการ
พัฒนาระบบการค้า
สร้างบทบาทผู้บริโภค
บูรณาการกับระบบการค้า
การปรับตัวภาคการเกษตร
เช่น
ใช้เทคโนโลยีความแม่นยำสูง
ใช้ระบบเทคโนโลยีอัติโนมัต
กลุ่มเป้าหมายภาคการเกษตรและอาหาร
กระบวนการพัฒนากลุ่ม
ดูว่ามีอะไรอยู่ในมือ
ทำธุรกิจยุคดิจิตัล
ตั้งราคาสินค้า
ทำจากเล็กไปสู่ใหญ่
เเนวคิดการประสานพลังเพื่อนวัตกรรม
บทบาทของนักส่งเสริมในการประสานพลัง
ได้แก่
ผู้กระตุ้น
ตัวเร่งปฎิกิริยา
สนับสนุนจัดตั้งองค์กร
ผู้เเนะนำแหล่งข้อมูล
คุณลักษณะของแกนนำกลุ่มเป้าหมาย
ดังนี้
คุณลักษณะของผู้ที่แปรวิกฤติเป็นโอกาสได้
คุณสมบัติการมีแรงบันดาลใจ
การเปลี่ยนปัญหาเป็นปัญญา
มีความคิดที่คิดนอกกรอบ
เข้ารับการบ่มเพาะ
มีหัวใจเป็นนักนวัตกรรม