Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา (การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา (1 …
การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
นุชนาถ
1.พัฒนาจากหลักสูตรเดิมที่มีอยู่
นุชนาถ
2.สร้างหลักสูตรจากสาระและมาตรฐาน
ต้องยึดหลักหลักสูตรสาระการเรียนรู้และมาตรฐานของหลักสูตร
นุชนาถ
3.สร้างหลักสูตรบนพื้นฐานความต้องการของสถานศึกษา ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา สภาพแวดล้อม ของชุมชน ปรัชญาวิสัยทัศน์ และธรรมนูญของโรงเรียน
นุชนาถ
การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
1 .ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาใช้ประกอบในการพิจารณากำหนดสาระของหลักสูตรสถานศึกษา ข้อมูลที่เกียวข้อได้แก่
1.พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
2.หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
3สาระการเรียนรู้ 8กลุ่ม
4.คู่มือการจัดการเรียนรู้8กลุ่ม
5.คู่มือกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและเอกสารประกอบการเรียนอื่นๆ
6.ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพแนวโน้ม
นุชนาถ
2.จัดทำสารสนเทศเพื่อพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
ข้อข้อมูลหมายถึงข้อเท็จจริงต่างๆที่ได้จากการรวบรวม เรื่องราวข่าวสารต่างๆที่มีอยู่
สารสนเทศหมายถึงข้อมูลที่ได้ผ่านการวิเคราะห์ หรือประมวลผลจนเป็นรูปแบบที่มีความหมายซึ่งใช้เป็นข้ออ้างอิงในการตัดสินใจ
นุชนาถ
3.กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย
กำหนดวิสัยทัศน์เพื่อมองอนาคตว่าจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร และสถานศึกษาต้องปรับตัว ปรับหลักสูตรอย่างไรจึงจะพัฒนาผู้เรียนให้เหมาะสมกับกาลสมัย
นุชนาถ
4.กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ลักษณะทางด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่สถานศึกษาต้องการให้เกิดกับผู้เรียนโดยสถานศึกษาสามารถกำหนดได้ตามความต้องการ
นุชนาถ
5.กำหนดโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
จากวิสัยทัศน์พันธกิจและเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดไว้ สถานศึกษาจะต้องจัดทำโครงสร้างหลัก็สูตรสถานศึกษาประกอบด้วย
1.สาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังปีหรือภาค หน่วยการเรียนรู้8สาระ
2.กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
3.เวลาเรียนของแต่ละกลุ่มสาระ หน่วยการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนปี/ภาค
นุชนาถ
6.จัดทำสาระของหลักสูตร สามารถจัดทำโดยมีลำดับขั้นตอนดัวต่อไปนี้
1.กำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายปีรายภาค
2.กำหนดสาระการเรียนรู้รายปีหรือรายภาคโดยวิเคราะห์จากผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายปีหรือรายารยภาค
3.กำหนดเวลาเรียนหรือหน่วยกิต
4.จัดทำคำอธิบายรายวิชาโดยการนำผลการเรียนรู้ที่คาดหวังสาระการเรียนรู้รวมทั้งเวลาและจำนวนหน่วยกิตที่กำหนดไว้ เขียนเป็นคำอธิบายรายวิชาประกอบด้วยชื่อ รายวิชา จำนวนเวลาหรือหน่วยกิต ผลการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ของรายวิชานั้นๆ
5.จัดทำสาระการเรียนรู้เพิ่มเติมนำการวิเคราะห์สาระการเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นมาจัดทำเป็นสาระการเรียนเพิ่มเติมจากสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้ง8กลุ่มสาระการเรียนรู้
นุชนาถ
7.กำหนดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
1.กิจกรรมแนะแนว
2.กิจกรรมนักเรียน
นุชนาถ
8.กิจกรรมการจัดการเรียนรู้และการส่งเสริมการเรียนรู้
กำหนดการเรียนรู้แต่ละช่วงชั้นใช้รูปแบบที่หลากหลาย
นุชนาถ
9.กำหนดการวัดและการประเมินผล
1.การวัดและประเมินผลระดับชั้นเรียนเป็นการวัดและประเมินผลเพื่อมุ่งหาคำตอบว่าผู้เรียนมีความก้าวหน้าทั้งด้านความรู้ความคิด ทักษะกระบวนการ อื่นๆ จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มากน้อยเพียงใดแล้วนำมาสรุปผล
2.การวัดและประเมินผลระดับสถานศึกษา วัดและประเมินผลเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าในการเรียนรู้รายชั้นปีหรือช่วงชั้น
(ประภาวัลย์)
ปัญหาของการพัฒนาหลักสูตร
1.ปัญหาด้านการยอมรับในการเปลี่ยนแปลง
การไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลง
2.ปัญหาจากหลักสูตร
หลักสูตรต้องเปิดช่องว่างเพื่อเปิดโอกาสให้ครูผู้ใช้หลักสูตรได้ตีความและเติมเต็ม
นุชนาถ
3.ปัญหาการขาดภาวะผู้นำและติดตาม
ผู้บริหารต้องเป็นผู้นำและสร้างแรงบันดาลใจให้กับทีมเป็นตัวกลางเชื่อมโยงนโยบายต่างๆ
นุชนาถ
4.ปัญหาที่เกิดจากครูผู้ปฎิบัติ
-ครูไม่พัฒนาตนเอง
-วิธีการสอนเดิมๆ
-ครูบางส่วนไม่มีความคิดสร้างสรรค์
นุชนาถ
5.ปัญหาจากผู้เรียน
ผู้เรียนไม่ให้ความร่วมในการเรียนการสอน
นุชนาถ
6.ปัญหาจากปัจจัยภายนอก
ได้แก่การประกันคุณภาพ การประเมินผลการศึกษาระดับชาติ การศึกษาภายในโรงเรียนไม่เป็นที่ตอบโจทย์ของเด็ก ทำให้เด็กต้องไปเรียนกวดวิชา
ประเทศไทยเชิดชูคนเก่ง รวมกันอยู่ที่ๆหนึ่ง ทำให้เกิดความล้มเหลวในอีกหลายๆที่
•นางสาวนอรอัสลีน บินบือราเฮง