Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิสัยทัศน์และแผนพัฒนาการศึกษาไทย (วิสัยทัศน์ (การสร้างวิสัยทัศน์…
วิสัยทัศน์และแผนพัฒนาการศึกษาไทย
วิสัยทัศน์
การสร้างวิสัยทัศน์
การสร้างวิสัยทัศน์เป็นการสร้างฝันให้เป็นจริง -ย้อนอดีต -มองปัจจุบัน -วาดฝันอนาคต -กำหนดวิสัยทัศน์ (ประภาวัลย์)
ลักษณะของวิสัยทัศน์
1.แสดงจุดมุ่งมั่นในภารกิจ
2.มีความชัดเจน
3.เป็นภาพเชิงบวกที่สะท้อนถึงความเป็นเลิศในองค์กร 4.คำนึงถึงผู้รับบริการเป็นสำคัญ
5.อธิบายจุดมุ่งหมาย
6.ดลบันดาลความกระตือรือร้น
7.สะท้อนความเป็นหนึ่งเดียว
8.ความมักใหญ่ใฝ่สูง
•นางสาวนอรอัสลีน บินบือราเฮง
ความหมาย
ภาพในอนาคตที่ได้มาจากปัญญา ความคิดเห็นที่นำมาทำให้กระจ่างว่าทำไมบุคคลต้องสร้างขึ้น ซึ่งสิ่งที่เราสร้างขึ้นมานั้นต้องสอดคล้องกับเป้าหมายภาระหน้าที่ขององค์กรนั้น แม้ว่ามีบุคคลจำนวนมากก็สามารถควบคุมได้
และดำเนินการได้อย่างรวดเร็ว
นุชนาถ
แผนพัฒนาการศึกษาไทย
ความสำคัญ
ช่วยให่การบริหารงานเป็นไปโดยประสานสอดคล้องกัน 2. ช่วยให้เกิดการประหยัดทั้งด้าน คน เวลา งบประมาณ 3. ช่วยให้ตรวจสอบ/ควบคุมงาน ให้มีประสิทธิภาพ 4. ช่วยในการขยายงานและปรับปรุงวิธีการดำเนินงานขององค์กร (ประภาวัลย์)
ประโยชน์
แผนให้ทิศทาง การบริหารงานให้ประสบความสำเร็จ 2.แผณที่ให้ภาพรวมแผนที่สมบูรณ์จะครอบคลุมภารกิจทั้งหมด 3. แผนเป็นเครื่องมือสำหรับควบคุมและติดตามผล 4.แผนเป็นวิธีการแห่งการทำงานร่วมกัน 5. แผนก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหาร (ประภาวัลย์)
แผนพัฒานาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
ฉบับที่ 11
พ.ศ. 2555-2559 ได้ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช2550 (ประภาวัลย์)
มุ่งหวังจะพัฒนาคุณภาพคนไทยทุกกลุ่มวัยให้มีความพร้อมทั้งกาย สติปัญญา มีจิตสำนึก วัฒนธรรมที่ดีงามและรู้คุณค่าความเป็นไทย (ประภาวัลย์)
ฉบับที่ 12
พ.ศ. 2560 – 2564 นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้เป็นกรอบในการดำเนินงาน เพื่อสร้างผลผลิต ผลลัพธ์ให้เกิดกับผู้เรียนได้อย่างมีความสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศในช่วงของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (ประภาวัลย์)
ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ซึ่งได้ระบุสาระสำคัญเกี่ยวกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ของกระทรวงศึกษาธิการ ที่สามารถตอบสนองต่อเป้าหมายของการพัฒนาประเทศได้ทั้งมิติความมั่นคง มติเศรษฐกิจ มิติสังคม และมิติการบริหารจัดการภาครัฐ ได้อย่างเป็นรูปธรรม (ประภาวัลย์)