triple vessel disease (TVD)
โรคหลอดเลือดหัวใจตีบสามเส้น
สาเหตุ
มาจากผนังหลอดเลือดแดงแข็งและหนาตัวขึ้น (Atherosclerosis)
เกิดเนื่องจากการมีไขมันไปเกาะอยู่ภายในผนังหลอดเลือด เรียกว่า “ตะกรันท่อหลอดเลือด” (Artherosclerotic plaque) ซึ่งจะค่อย ๆ พอกหนาตัวขึ้นทีละน้อยจนช่องทางเดินของเลือดตีบแคบลง เลือดจึงไปเลี้ยงหัวใจได้น้อยลง และในขณะที่กล้ามเนื้อหัวใจต้องการออกซิเจนมากขึ้นในการเผาผลาญให้เกิดพลังงานเพื่อใช้ทำกิจกรรมต่าง ๆ
ผู้ป่วยมีโรคประจำตัวเป็นความดันโลหิตสูงมา 2 ปี
อาการและอาการแสดง
แน่นหน้าอก เพราะขาดเลือดมาเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ
พยาธิสภาพ
ภาวะหลอดเลือดโคโรนารีแข็งหรือตีบ
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด (Ischemia)
กล้ามเนื้อหัวใจได้รับบาดเจ็บ (Injury)
กล้ามเนื้อหัวใจตายตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction)
การวินิจฉัย
การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (Echocardiogram)
การถ่ายภาพรังสีของทรวงอก (Chest x-ray)
การสวนหลอดเลือดหัวใจหรือการฉีดสีดูหลอดเลือดหัวใจ (Cardiac catheterization หรือ Coronary angiogram)
แปลผล
การหนาตัวของ Aortic valve และลิ้นหัวใจอื่นๆเป็นปกติ
LM : diffuse disease
LAD : diffuse disease
LCX : 70% stenosis proximal LCX with severe tortious
RCA : diffuse disease from ostial RCA
การรักษา
2.การรักษาด้วยการผ่าตัด ❤ รอผ่าตัด CABG (30/11/62)
1.การรักษาด้วยการใช้ยา ผู้ป่วยได้รับยา
-losec (20) 1x1 oral ac
-lasix (20) 1x1 oral pc
-Atorvastatin (40) 1x1 oral hs
-clopldogrel (75) 1x1 oral pc
-enalapril (5)1x2 oral pc
-aspirin (81) 1x1 oral pc
-metoprolol (100) 1/2x1 oral pc
-Lercanidipine (20) 1x1 oral ac
-EKCL 30 cc
-50% MgSO4 4 ml
ข้อวินิจฉัยและการพยาบาล
เสี่ยงต่อปริมาตรเลือดที่ออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลง
เจ็บแน่นหน้าอกเนื่องจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
ประเมินอาการ chest pain
Absolute bed rest และจำกัดกิจกรรม
ประเมินคลื่นไฟฟ้าหัวใจ monitor EKG
ประเมินสัญญาณชีพ ทุก 4 ชั่วโมง
ประเมินระดับความรู้สึกตัวทุก 4ชั่วโมง โดยสังเกตอาการสับสนกระสับการส่าย
ประเมินสัญญาณชีพ ทุก 4 ชั่วโมง
ประเมินอาการ chest pain
ประเมินลักษณะผิวหนัง ความเย็นชื้นและสีผิว
ประเมิน capillary refilled
ประเมิน urine output หรือ Intake-output
ติดตามและเฝ้าระวังคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
Absolute bed rest
ดูแลให้ได้รับยา 50% MgSO4 4 ml + 5% DW 100 ml v drip in 4 hr x 3 day พร้อมสังเกตอาการข้างเคียง
CC : เหนื่อย แน่าหน้าอก หายใจไม่อิ่ม 7 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล Refer จากโรงพยาบาลสกลนครปรึกษาผ่าตัด
PI : 1 สัปดาห์ก่อนมา ขณะ admit ที่โรงพยาบาลสกลนคร ด้วยเรื่อง TIA Rt. Hemiparesis --> Fully recovery มีอาการแน่นหน้าอก ใจสั่น นอนราบได้ ไม่มีขาบวม ไม่มีไข้ --> นึกถึง NSTEMT c CHF จึงได้ทำ CAG พบ TVD Echo LVEF 32% จึง refer มาโรงพยาบาลอุดรธานี for CABG
ผู้ป่วยมีโรคประจำตัวเป็นเบาหวานมา 20 ปี ทำให้มีไขมันสะสมในหลอดเลือด จนกระทั่งหลอดเลือดหัวใจตีบตัน ทำให้เลือดไหลไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
ผนังของกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างซ้ายหนาตัว การบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้าย LVEF=32% กล้ามเนื้อหัวใจบีบตัวแผ่วลง เบาลง
ภาวะหัวใจล้มเหลว (Heart failure)
เสียชีวิตอย่างกะทันหัน (Sudden death)