Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
[วิวัฒนาการของฮาร์ดดิสก์] (ฮาร์ดดิสมี 6 ประเภท (1) (PATA) Parallel Advance…
[วิวัฒนาการของฮาร์ดดิสก์]
ฮาร์ดดิสมี 6 ประเภท
1) (PATA) Parallel Advance Technology Attachment
IDE หรือ Integrated Drive Electronics ซึ่งได้ถูกพัฒนาโดยบริษัท Western Digital
ความเร็วในการโอนถ่ายข้อมูลแบบสโลวไลฟ์อยู่ที่ประมาณ 8.3 Mbps
ความจุข้อมูลอยู่ที่ประมาณ 504 MB
ต่อมาได้มีการพัฒนาความสามารถในการถ่ายโอนข้อมูลและความจุของฮาร์ดดิสก์แบบ IDE ขึ้น
ใช้ชื่อเรียกให้ดูเก๋ขึ้นอีกนิดว่า E-IDE (Enhanced Integrated Drive Electronics)
ฮาร์ดดิสก์แบบ E-DIE นั้นมีความเร็วในการโอนข้อมูลอยู่ที่ประมาณ 133 Mbps
Serial ATA (SATA) เริ่มเข้าสู่ตลาดในปี 2003 ทำให้ชื่อ ATA ถูกเปลี่ยนเป็น Parallel ATA หรือ PATA จุดประสงค์ก็เพื่อแยกประเภทฮาร์ดดิสก์ตามอินเตอร์เฟซแบบอนุกรม (Serial) และแบบขนาน (Parallel) ออกจากกัน
2) SCSI (Small Computer System Interface)
ใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างฮาร์ดแวร์และบัส เช่น การเชื่อมต่อ CD-Rs, DVD รวมถึง Hard Drive ด้วย
SCSI Controller สามารถรวบรวมคำสั่ง การอ่าน เขียน และลบข้อมูล เข้ามาเป็นคำสั่งเดียวกันได้
3) SATA (Serial Advanced Technology Attachment)
Serial ATA นั้นจะมีรูปแบบอินเตอร์เฟซหรือการรับส่งข้อมูลแบบอนุกรม (Serial) ด้วยวิธีการนำโปรโตคอลเข้ามาควบคุมให้ส่งข้อทีละ bit เรียงกัน
มีความสูงกว่าการรับส่งข้อมูลแบบขนาน (PATA หรือ IDE) ด้วยความเร็วในการรับส่งข้อมูลอยู่ที่ประมาณ 150 Mbps
สาย SATA ถูกปรับให้มีขนาดเล็กลง จากเดิมที่มี 40 Pin (PATA) ถูกปรับให้เล็กลงเหลือแค่ 7 Pin (SATA)
4) Near Line SAS
Near Line SAS เป็นลูกผสมระหว่าง SATA กับ SAS
NL-SAS จะยังคงใช้ลักษณะดิสก์แบบจานหมุนของ SATA แต่ที่เพิ่มเติมคือ การใช้ชุดคำสั่งแบบ SAS มาช่วยจัดการ เช่น คำสั่งการจัดเรียงคิวข้อมูล การอ่านเขียนข้อมูลหลายๆ Channel พร้อมกัน และการทำงานหลายๆโฮสพร้อมกัน เป็นต้น
5) SAS (Serial Attached SCSI)
SAS เป็นโพรโทคอลสื่อสารรูปแบบ Point-to-Point ทำหน้าที่ในการรับส่งข้อมูลสำหรับอุปกรณ์ฮาร์ดไดร์ฟ (Hard Drive) และ เทป (Tape Drive)
ตัวควบคุม (Controller) จะเชื่อมต่อกับดิสก์ไดร์ฟ (Disk Drive)โดยตรง โพรโทคอลอนุกรมของ SAS ได้ถูกนำมาแทนที่การรับส่งข้อมูลแบบขนาน (SCSI) โดยยังคงใช้ชุดคำสั่งแบบเดิมของ SCSI อยู่
แต่ได้รับการปรับปรุงในด้านความสามารถมากกว่า SCSI ในหลายๆด้านยกตัวอย่างเช่น SAS สามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่างๆ
การส่งผ่านสัญญาณระหว่างต้นทางและปลายทางแบบ Full-Duplex รองรับความเร็วที่ 3 Gbps และยังรองรับเทคโนโลยี Hot-Swap
6) Solid-State Drive (SSD)
SSD เป็นอุปกรณ์การจัดเก็บข้อมูลแบบใหม่ที่ใช้การประกอบแผงวงจรในรูปแบบชิปหน่วยความจำ
ประกอบไปด้วยอุปกรณ์ 2 ส่วนหลักๆ คือ ชิปหน่วยความจำ (Memory) และ ชิปควบคุมการทำงาน (Controller)
ฮาร์ดิสประเภทนี้ดีกว่าประเภทจานหมุนเพราะไม่มีเสียงรบกวน ความร้อน และเรื่องความเร็วในการอ่านเขียนข้อมูลแบบทวีคูณ
1.นางสาว มณีรัตน์ คำแสน รหัส 62181550101
2.นาย ภาคิไนย แสนอินต๊ะ รหัส 62181550105
3.นางสาว จิราพรรณ โยมงาม รหัส [62181550112]
M.2 : :
คือ SSD อีกรูปแบบหนึ่งที่ได้ออกแบบมาใหม่และใช้งานการเชื่อมต่อรูปแบบใหม่
มีประสิทธิภาพสูงกว่าแบบ Sata อยู่หลายเท่าและก็มีความแรงกว่า SSD แถมยังมีขนาดเล็กกว่า
ข้อดีของ SSD m.2
เหมือนกับ SSD แต่มีความเร็วสูงกว่า + เล็กกระทัดรัด
ข้อเสียของ SSD m.2
ราคาแพงกว่า SSD กู้ข้อมูลยากถึงไม่ได้
วิวัฒนาการของอุปกรณ์ฮาร์ดดิสก์
ฮาร์ดดิสก์ตัวแรกถูกประดิษฐ์ขึ้นในปี ค.ศ.1950 และใช้จานหมุนวงกลมขนาดใหญ่ มีเส้นผ่าศูนย์กลางเกือบ 2 ฟุต เก็บข้อมูลได้เพียงไม่กี่เมกกะไบต์
ฮาร์ดดิสก์ในยุคแรกจะเป็นกระดาษที่เป็นรู ซึ่งใช้งานยาก จากนั้นได้ถูกพัฒนามาใช้แผ่นพลาสติกที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็ก ที่เรียกว่า Diskette
ปัจจุบันจานฮาร์ดดิสก์เหล่านี้มีขนาดเล็กลงมากและหมุนได้เร็วมากจนไม่อาจวัดค่าได้ รวมทั้งเก็บข้อมูลได้มากกว่า