Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
(ความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์ (Pregnancy Induced Hypertension)…
ความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์ (Pregnancy Induced Hypertension) นายจีระศักดิ์ ปั้นแจ่ม 590301018 กลุ่ม D2
การแบ่งชนิด
-
-
-
-
Chronic Hypertension
ความดันโลหิตสูง ซึ่งพบก่อนการตั้งครรภ์หรือก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ หรือ ภาวะความดันโลหิตสูงยังคงอยู่นานกว่า 12 สัปดาห์ หลังคลอด
พยาธิสรีรวิทยา
จำแนกตามระบบ
ระบบโลหิตวิทยา
ทำให้เม็ดโลหิตแดงและเกร็ดเลือดถูกทำลายมากขึ้น ทำให้ปริมาณเม็ดเลือดแดงแตกและเกร็ดเลือดลดน้อยลง ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่เรียกว่า HELLP syndrome
-
-
-
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเอนไซม์ในตับ จะพบการเพิ่มของ ALT และ AST ซึ่งหมายความว่ามีการตายของเนื้อตับและมีเลือดออกในตับแล้ว
พบมี thrombocytopenia (เกร็ดเลือดน้อยกว่า 100,000 L) ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ว่าเกิดภาวะเลือดไม่แข็งตัวแล้ว
-
-
-
ระบบประสาท
เส้นเลือดในสมองหดเกร็ง ประกอบกับมีการทำลายของ endothelial cells ในสมองทำให้เนื้อเยื่อในสมองบวม มีเลือดออก และเกิดเนื้อตาย
-
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
มีการเพิ่มของเลือดที่ออกจากหัวใจอย่างมากในระยะต้น ๆ ของการดำเนินของโรค ประกอบกับการมีภาวะเส้นเลือดบีบรัดตัวและเกิดภาวะความดันโลหิตสูงที่เกิดขึ้น
-
-
ระบบการทำงานของปอด
เกิดภาวะปอดบวม ผลมาจากการลดลงของ plasma oncotic pressure และการเพิ่ม permeability ในเส้นเลือดชั้น endothelial ทำให้มีน้ำเข้าสู่ pulmonary interstitial space
ระบบปัสสาวะ
มีการทำลายชั้น endothelial ของเส้นเลือดในไต มีผลทำให้เซลล์ของโกลเมอร์รูล่าร์รวม (glomerular cells) แคพพีราร่า ลูพส์ (capillary loops) ขยายและหดรัดจากภาวะเส้นเลือดหดรัดตัวทำให้เกิดภาวะกำซาบและการไหลผ่านของหลอดในไตลดลง
-
ภาวะปัสสาวะจะเป็นเลือดสามารถพบได้ถ้าเม็ดเลือดแดงแตก มักจะพบในรายที่รุนแรงและอาจพบปัสสาวะออกน้อยและไตวายได้ในที่สุด
การหดเกร็งของหลอดเลือด (vasospasm) เป็นพยาธิสภาพประการแรกที่เกิดขึ้นในภาวะความดันโลหิตสูงในหญิงตั้งครร
ความหมาย
การที่มีความดันโลหิตสูงมากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 mmHg และมีโปรตีนรั่วในปัสสาวะ โดยอาจจะมีหรือไม่มีภาวะบวมก็ได้