Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มนุษยสัมพันธ์ในองค์กร :silhouette: :silhouettes: :smiley:…
มนุษยสัมพันธ์ในองค์กร :silhouette: :silhouettes: :smiley:
ความหมายของมนุษยสัมพันธ์
:no_entry:
มุนษยสัมพันธ์ หมายถึง กระบวนการประพฤติปฏิบัติตนทั้งทางร่างกาย จิตใจ และการกระทำเพื่อให้เกิดความรู้สึกที่ดีต่อกัน ซึ่งจะก่อให้เกิดความร่วมมือร่วมใจในทำงาน และช่วยให้เป้าหมายของหน่วยงานบรรลุผลสำเร็จตามจุดประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ
ความหมายขององค์การ
:no_entry:
องค์การ คือ หน่วยงานต่างๆที่เกิดขึ้นในสังคม ประกอบด้วยสมาชิกจำนวนหนึ่งที่มีการกำหนดสถานภาพและบทบาท เพื่อการทำงานร่วมกันมุ่งหวังให้เกิดผลสำเร็จตามจุดประสงค์ที่ต้องการ รวมทั้งได้รับผลประโยชน์ร่วมกัน
ความหมายของมนุษยสัมพันธ์ในองค์การ
:no_entry:
คำว่า “มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ” หมายถึง ความสัมพันธ์ของบุคลากรที่อยู่ในรูปแบบขององค์การ ซึ่งมีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลต่อบุคคล กลุ่มบุคคลต่อกลุ่มบุคคลด้วยกัน เพื่อให้มีความผูกพันเป็นไมตรีต่อกัน มีความสุขในการทำงานร่วมกันในองค์การ
วัตถุประสงค์ของมนุษยสัมพันธ์ในองค์กร
:no_entry:
ทำให้ผู้อื่นให้ความร่วมมือ
ทำให้พนักงานเพิ่มผลผลิตให้มากขึ้น
ทำให้พนักงานเกิดความพึงพอใจในการทำงาน
ทำให้พนักงานมีความสุขในที่ทำงาน
ความสำคัญของมนุษยสัมพันธ์ในองค์กร :no_entry:
ด้านการดำเนินชีวิต
ด้านการบริหารจัดการ
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านการเมือง
การสร้างมนุษยสัมพันธ์ระหว่าง
ผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชา
:no_entry:
ยึดหลักความจริง
อย่ากระทำการใดๆในเวลา
อย่าบั่นทอนศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ของผู้ใต้บังคับบัญชา
ต้องเป็นผู้พิสูจน์ความจริง
ควรมีการตักเตือนล่วงหน้า
อย่าลงโทษรุนแรง
ควรใช้วินัยอย่างเสมอภาค
พยายามมองปัญหาหลายแง่หลายมุม
อย่าถอยถ้าเป็นฝ่ายถูก
อย่าปล่อยให้วินัยกลายเป็นเรื่องส่วนตัว
องค์ประกอบของมนุษยสัมพันธ์ในองค์กร
:no_entry:
ความแตกต่างของมนุษย์ ซึ่งมีทั้งรูปร่าง เพศ ผิวพรรณทัศนคติ ค่านิยมอันเกิดจากการเรียนรู้และประสบการณ์ชีวิต ซึ่งมีผลต่อพฤติกรรมในการทำงานร่วมกัน
แรงขับและแรงจูงใจ เป็นปัจจัยที่ผลักดันให้ คนแสดงพฤติกรรมเพื่อให้ได้รับการตอบสนองความต้องการของตน
องค์กรหรือกลุ่มเป็นศูนย์กลางของการตอบสนองความต้องการต่างๆ ของแต่ละบุคคล
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างมนุษยสัมพันธ์ในองค์กร :no_entry:
การรับรู้หรือความเข้าใจ
ความเชื่อมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมที่แสดงออก
ทัศนคติ เป็นเรื่องความรู้สึกชอบ ไม่ชอบ
ค่านิยม ในการตีความหรือตีค่าต่อสิ่งต่างๆ ว่าดีหรือไม่ดี ควร หรือไม่ควร
หลักการสร้างมนุษยสัมพันธ์ในองค์กร :no_entry:
บุคคลย่อมมีความแตกต่างกัน
พฤติกรรมของบุคคลนั้น ต้องมี สาเหตุ
ความรับผิดชอบ
การพิจารณาศึกษาบุคคลต้องดู ทั้งหมดในฐานะที่เป็นบุคคลหนึ่ง
ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
การเอาใจเขามาใส่ใจเรา
การพัฒนาศักยภาพของตน
การเรียนรู้ความรับผิดชอบ
การติดต่อสื่อสาร
มนุษย์มีแรงจูงใจ