Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารแหล่งเรียนรู้ :no_entry: :forbidden: :<3: (ประเภทของแหล่งเรีย…
การบริหารแหล่งเรียนรู้
:no_entry: :forbidden: :<3:
ความหมายของแหล่งเรียนรู้
:explode:
แหล่งเรียนรู้ หมายถึง แหล่งข่าวสารข้อมูล สารสนเทศ แหล่งความรู้ทางวิทยาการ และประสบการณ์ที่สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้เรียน ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ แสวงหาความรู้ และ เรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัยอย่างกว้างขวาง และต่อเนื่องจากแหล่งต่าง ๆ เพื่อ เสริมสร้างให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ และเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้
แหล่งเรียนรู้ หมายถึง สิ่งที่มีชีวิต และไม่มีชีวิต ได้แก่ บุคคล สถานที่ต่างๆ แหล่ง วิทยาการธรรมชาติ สภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม และเทคโนโลยี สารสนเทศต่างๆ ที่เสริมสร้างให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ และเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ด้วยตนเองโดยประสบการณ์ตรงเพื่อให้สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ใน ชีวิตประจำวัน
แหล่งเรียนรู้ หมายถึง บุคคล สถานที่ ธรรมชาติ และเทคโนโลยี ที่ให้ความรู้ อำนวยความสะดวก ส่งเสริม สนับสนุนให้เกิด การเรียนรู้ เช่นผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญ ปราชญ์ชาวบ้าน ห้องสมุด เครือข่ายคอมพิวเตอร์ศูนย์การเรียนชุมชน ศาสนสถาน องค์การในชุมชน สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ
ความสำคัญและประโยชน์
ของแหล่งเรียนรู้
:explode:
เป็นกระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงาม ของบุคคลและสังคมโดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึกการอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์ จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคม และ การเรียนรู้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
“การจัดการศึกษาต้องยึดหลักผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ” และมาตรา 24 (5) ได้ระบุว่า การจัดกระบวนการเรียนรู้ สถานศึกษาต้องดําเนินการ ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอํานวยความสะดวก เพื่อให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้รวมทั้งสามารถใช้การวิจัย
ประเภทของแหล่งเรียนรู้
:explode:
ผู้ชำนาญการ
ตัวแทนขององค์กรต่างๆ
ผู้แทนทางด้านธุรกิจและอุตสาหกรรม
คณะกรรมการที่ทําหน้าที่ให้คําปรึกษาแนะนําแก่ประชาชน
ผู้แทนรัฐบาล
สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
ทรัพยากรธรรมชาติ
พ่อแม่หรือผู้ปกครอง
รูปแบบทฤษฎีในการจัดการแหล่งเรียนรู้
:explode:
การเรียนรู้อย่างอิสระ (Independent Learning)
การวางแผนการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ (Planning Resource based Learning)
บทบาทของผู้บริหาร
ในการบริหารแหล่งเรียนรู้
:explode:
กำหนดนโยบายส่งเสริมสนับสนุนการจัดหา จัดสร้างหรือพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
ส่งเสริมพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้และประสบการณ์การจัดและใช้แหล่งเรียนรู้ ในโรงเรียน
สนับสนุนให้บุคลากรทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการนําเสนอผลงาน/นวัตกรรมที่เกิด จากการใช้แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
กํากับ ติดตาม ดูแลและประเมินผลระบบการจัดการเรียนการสอนโดยใช้แหล่ง เรียนรู้ในโรงเรียน
การใช้ประโยชน์จากแหล่งการเรียนรู้ในสถานศึกษา
:explode:
1.เป็นแหล่งที่รวมขององค์ความรู้อันหลากหลายพร้อมที่จะให้ผู้เรียนเข้าไปศึกษาค้นคว้า
2.เป็นแหล่งเชื่อมโยงให้สถานศึกษาและชุมชน มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกัน
3.เป็นแหล่งข้อมูลที่ทำให้ผู้เรียนเกิดการการเรียนรู้อย่างมีความสุข
4.ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากการได้คิดเองปฏิบัติเองและปลูกฝังให้รู้และรักท้องถิ่น
การจัดการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้
:explode:
ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง
ผู้เรียนได้ฝึกทำงานี้เป็นกลุ่มร่วมคิดร่วมทำแก้ไขปัญหาต่าง ๆ
ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้และเผยแพร่ความรู้ได้
ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้และเผยแพร่ความรู้ได้
3.ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการสังเกต การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การตีความหมายและการสรุป
แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น
:explode:
เป็นแหล่งการศึกษาตลอดชีวิตที่ประชาชนสามารถหาความรู้ต่างๆได้ด้วยตนเองตลอดเวลา
เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนและสังคม มีแหล่งการเรียนรู้เพื่อการศึกษาที่หลากหลาย สามารถเรียนรู้ได้ตามอัธยาศัย
เป็นเครื่องมือที่สำคัญของบุคคลแห่งการเรียนรู้ ในการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเอง