Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 ความเป็นครูการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา…
บทที่ 9
ความเป็นครูการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาของครู
ควรมีการฝึกอบรมครูและบุคลากรทางการศึกษา
1ระดับพื้นฐานให้ครูทุกคน
2 ระดับการประยุกต์ใช้โดยจัดประเภทการประยุกต์ใช้ที่เหมาะสม
3 ระดับก้าวหน้าให้ครูคอมพิวเตอร์และครูท่านอื่นที่มีศักยภาพ
ควรมีการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน
1 ปรับปรุงหลักสูตรการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้ทันสมัยอยู่เสมอ
2 ปรับปรุงหลักสูตรการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สังคมศาสตร์
3 ปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอนทักษะภาษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งภาษาอังกฤษ
ควรมีการพัฒนาเนื้อหาการเรียน
1 เร่งจัดหาซอฟต์แวร์ประเภทเนื้อหาที่มีอยู่ในตลาด
2 เร่งจัดหาซอฟต์แวร์สอนภาษา
3 เร่งสืบค้นข้อมูลข่าวสารความรู้ที่มีประโยชน์โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
ควรมีการพัฒนาเครือข่ายทางการศึกษา
1 การเชื่อมโยงเครือข่ายของครูหรือผู้บริหารการศึกษาเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ทั้งด้านการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ
2 การสร้างเครือข่ายในกลุ่มวิชาชีพและความรู้
3 การเชื่อมโยงเครือข่ายกับชุมชนธุรกิจและสังคม
ควรมีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพ
1 ไฟฟ้าเข้าถึงทุกโรงเรียน
2 โทรศัพท์เข้าถึงทุกโรงเรียน
3อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงเข้าถึงทุกโรงเรียน
4 ทุกโรงเรียนมีเครือข่ายท้องถิ่น
5 ในระดับประเทศมีคลื่นความถี่เพื่อการศึกษา
ควรตระหนักถึงศักยภาพของภาครัฐ
1 มีส่วนร่วมในฐานอาสาสมัครหรือผู้บริจาคในโครงการเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาต่างๆ
2ร่วมจัดตั้งองค์กรเอกชนเพื่อสนับสนุนกิจกรรม
3 มีส่วนสำคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อรองรับความต้องการในตลาดการศึกษา
ควรมีการสร้างความเข้มแข็งเชิงสถาบัน
1 การจัดตั้งสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแห่งชาติเพื่อวางนโยบายติดตามตรวจสอบและประเมินผล
2 จัดให้มีศูนย์ประสานงานเพื่อเจรจาต่อรองราคาในการจัดซื้อจัดจ้างอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
3 จัดให้มีทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของสถาบันเทคโนโลยีการศึกษาแห่งชาติ
ทำไมต้องรู้เท่าทันสื่อ
ทักษะขั้นตอนของการรู้เท่าทันสื่อ
1 การเข้าถึงเป็นการได้รับสื่อประเภทต่างๆได้อย่างเต็มที่และรวดเร็ว
2 การวิเคราะห์เป็นการตีความเนื้อหาสื่อตามองค์ประกอบและแบบฟอร์มของสื่อ
3 การประเมินค่าสื่อเป็นผลจากการวิเคราะห์สื่อที่ผ่านมาทำให้สามารถที่จะประเมินคุณภาพของเนื้อหาที่มี
4 การสร้างสรรค์เป็นการเรียนรู้สื่อรวมถึงการพัฒนาทักษะการสร้างสื่อในแบบฉบับของตนเองขึ้นมาเมื่อผู้เรียนมีความรู้
ขั้นตอนของการรู้เท่าทันสื่อ
ขั้นตอนที่ 1 คือความตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกและลดเวลาในการชมโทรทัศน์วีดิทัศน์เล่นเกม
ขั้นตอนที่ 2 คือการเรียนรู้ทักษะเฉพาะในการวิเคราะห์สื่อ
ขั้นตอนที่ 3 คือการค้นหาประเด็นในระดับลึกขึ้น
การรู้เท่าทันสื่อ
1 มิติการรับสื่อตามรูปแบบการสื่อสารที่ซื้อมาจากจะผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ตาหูจมูกลิ้นกาย
2 การวิเคราะห์สื่อเป็นการแยกแยะองค์ประกอบในการนำเสนอของสื่อ
3 การเข้าถึงสื่อหรือการอ่านสื่อหรือตีความสื่อเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในตัวผู้รับสาร
4 การประเมินค่าหนังจากการที่ผู้รับสารผ่านการวิเคราะห์และทำความเข้าใจสื่อ
5 การใช้สื่อให้เกิดประโยชน์ถ้าผู้รับสารได้ใช้การวิเคราะห์และการทำความเข้าใจก็สามารถปฏิบัติได้ดังนี้
เอาสิ่งที่ตนวิเคราะห์ไปใช้ประโยชน์
เลือกรับสื่อเป็น
สามารถส่งสารต่อได้
มีปฏิกิริยาตอบกลับสื่อได้
การศึกษาในยุคไทยแลนด์ 4.0
การเตรียมความพร้อมผู้เรียน
หรือให้ความรู้แก่ผู้เรียนครู
ต้องทำให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่รักที่จะเรียน
มีคุณธรรมมีความเป็นพลเมือง
ที่สามารถอยู่ร่วมกับคนอื่นได้
เป็นแนวทางการพัฒนาประเทศ
ให้มีความทันสมัยมีรายได้มากขึ้น
และก้าวพ้นจากกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง
โดยจะต้องผลิตนวัตกรรมใหม่ๆ
เพื่อเป็นฐานในการพัฒนาประเทศ