Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 18 ความเป็นครูจิตตปัญญาศึกษา (หลักจิตปัญญา7 (หลักการพิจารณาด้วยใจอ…
บทที่ 18 ความเป็นครูจิตตปัญญาศึกษา
ความหมายของจิตตปัญญาศึกษา
จิตตะปัญญาศึกษาเป็นกระบวนการเรียนรู้จากภายในทำให้ได้มาซึ่งความรู้ประสบประการและกระบวนการที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในตนเองให้ตระหนักเห็นคุณค่าของความเป็นมนุษย์เรียนรู้ที่จะรักเรียนรู้ในการเข้าถึงความจริงเรียนรู้ที่จะยอมรับความหลากหลายทางความคิดมากขึ้นนำไปสู่ความตั้งใจที่จะทำประโยชน์เพื่อผู้อื่นซึ่งเป็นการพัฒนาคนลักษณะภายในที่ถาวรของผู้เรียน
กระบวนการพัฒนาจิตตะปัญญาศึกษา
การฟังอย่างลึกซึ้ง
การน้อมสู่ใจอย่างใคร่ครวญ
การเฝ้ามองเห็นตามที่เป็นจริง
หลักการของจิตตะปัญญาศึกษาเพื่อพัฒนาตนเอง
ความเชื่อมั่นในความเป็นมนุษย์ว่ามนุษย์มีศักยภาพสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่องโดยมีประสบประการตรงเป็นปัจจัยสำคัญของกระบวนการเรียนรู้ที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงขั้นพื้นฐานของชุดการอบรมแนวจิตตะปัญญาศึกษา
กระบวนทัศน์องค์รวมคือการปฏิบัติต่อสรรพสิ่งอย่างไม่แยกส่วนจากชีวิตด้วยทัศนะที่ว่ามนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของมนุษย์ มนุษย์กับสรรพสิ่งต่างเป็นองค์รวมของกันและกัน
หลักจิตปัญญา7
หลักการพิจารณาด้วยใจอย่างใคร่ครวญ
หลักความรักความเมตตา
หลักการเชื่อมโยงสัมพันธ์
หลักการเผชิญหน้า
หลักความต่อเนื่อง
หลักความมุ่งมั่น
หลักชุมชนแห่งการเรียนรู้
การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาจิตจะปัญญาศึกษา
เป็นการศึกษาที่ทำให้เขาใส่ด้านในของตนเองรู้จักตนเองเข้าถึงความจริงทำให้เปลี่ยนมุมมองเกี่ยวกับโลกและผู้อื่นเกิดความเป็นอิสระความสุขเกิดปัญญาและความรักอันไพศาลต่อเพื่อนมนุษย์และสรรรพสิ่ง
ความสำคัญของจิตตะปัญญาเพื่อพัฒนาตนเองต่อความเป็นครูที่ดี
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบจิตตะปัญญาศึกษามีผลต่อพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์และความสามารถในการเรียนรู้ทางสังคมของเด็กประถมวัย
การใช้วิธีสอนตามแนวคิดจิตตะปัญญาศึกษามีผลต่อพัฒนาความสามารถในการสื่อสารพฤติกรรมความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์และความสุขในการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้แบบจิตตะปัญญาศึกษาจึงเป็นนวัตกรรมการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางบนมุ่งเน้นเพื่อสร้างการเรียนรู้ด้วยการพัฒนาปัญญาและความฉลาดทางอารมณ์โดยการสอนที่คำนึงถึงจิตใจของผู้เรียนแต่ความว่างงามของสติปัญญาและกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจากศากรขวาด้วยตัวเอง. เทพกัญญา พูลนวล 2553
งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับที่จะปัญญาศึกษาที่มีต่อวิชาชีพครู
วิจัยเรื่องการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาที่จะปัญญาศึกษาสำหรับนักศึกษา
ครูพบว่าผู้เรียนมีความเมตตากรุณาต่อผู้อื่นเปลี่ยนไปทำให้มีการทำงานเพื่อสาธารณะประโยชน์
เปลี่ยนแปลงทำให้เกิดความเห็นอกเห็นใจหลังจากที่ได้ฟังภูมิหลังของเพื่อน
ตระหนักรู้ว่าทุกสิ่งในโลกล้วนต้องพึ่งพาอาศัยกัน
ให้เข้าใจความต้องการของผู้อื่นเห็นอกเห็นใจ
รู้จักเสียสละ
เห็นผลดีของการให้ความร่วมมือทำงานเพื่อสาธารณะประโยชน์ จิตสำนึกต่อส่วนรวมเปลี่ยนไป ทางที่ดี