Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 65 ปี DX.TVD EF 32% (ข้อวินิจฉัย (มีโอกาสเกิดการคั่งขอ…
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 65 ปี DX.TVD EF 32%
อาการ
แน่นหน้าอก
อ่อนแรง
หายใจไม่อิ่ม
แรกรับหอบเหนื่อย
เจ็บแน่นหน้าอก ก่อนมารพ. 1 w
สาเหตุ
โรคประจำตัว
HT
DM
ความเครียด
เป็นคนจริงจัง
การวินิจฉัย
EKG STD V5-V6
Echo:LVEF 32%
CAG:
LCX 70% c Severe tortious
LM+LAD+RCA:infectious disease
Lab
WBC: 14,120 H Neutrophil 44% Lymphocyle 51% L PlC: 345,000
Hb 12.8g/dL
Hct 38%
BUN: 32mg/dL H Creatinine 0.98mg/dL
GFR61 stage2
Na136
Cl 100 L
K 3.2 L
Mg 2.4
DTX:217mg%
ข้อวินิจฉัย
พร่องความรู้ในการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด
ประเมินความรู้ และความพร้อมของผู้ป่วยทั้งร่างกายและจิตใจก่อนกลับบ้านทั้งผู้ป่วย/ญาติ
ให้ข้อมูลที่ละน้อยๆ พร้อมประเมินความเข้าใจเพื่อช่วยให้การเรียนรู้ดีขึ้น
แนะนำแหล่งให้ความรู้ แหล่งประโยชน์อื่นๆเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ ความมั่นใจในการรักษา
มีโอกาสเกิดภาวะ Hypo, Hyperglycemai
ประเมินอาการและอาการแสดง เจาะ DTX
Hypoglycemai ผู้ป่วยได้รับ 50% glucose 50 ml vein stat DTX<55mg%
Hyperglycemai ให้ได้รับ mixtard 12 unit+RI 4unit
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
มีภาวะไม่สมดุลน้ำและอิเล็กโตรลัยด์ Hypokalemia
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำผสมเกลือโปแตสเซียม (KCI) ตามแผนการรักษา หรือได้รับยา KCI ในรูปแบบอื่นๆ เช่น ยาเม็ด ยาน้ำ เป็นต้น
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะโปแตสเซียมสูง เช่น กล้ามเนื้ออ่อนแรงหรือเป็นอัมพาต หัวใจวาย สับสน หัวใจเต้นเร็วและช้าจนหยุดเต้น หากมีอาการดังกล่าวรีบรายงานให้แพทย์ทราบ
ติดตามผลการตรวจเลือด หาค่าโปแตสเซียม เมื่อประเมินค่าโปแตสเซียมในเลือด
แนะนำให้ผู้ป่วยมีความรู้เรื่องอาหารที่มีโปแตสเซียมสูง เช่น กล้วยหอม ส้ม มันฝรั่ง มะเขือเทศ น้ำผลไม้ เป็นต้น
มีโอกาสเกิดการคั่งของของเสียและน้ำเนื่องจากไตและหัวใจทำงานลดลง
1.สังเกตอาการเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้แสดงถึงภาวะน้ำเกินจากน้ำท่วมปอดและหัวใจวายได้
2.ดูแลให้ยาขับปัสสาวะ Lasix 20mg Oral bid pc
3.ดูแลจำกัดอาหารเค็ม เพราะถ้ารับประทานอาหารเค็มจะทำให้เกิดการคั่งของเกลือและน้ำอวัยวะต่างๆ ทำให้แขนขาบวมเหนื่อยง่ายและภาวะหัวใจวายตามมาได้
4.บันทึกสารน้ำเข้า - ออก ทุก 8 ชม.เพราะเป็นการประเมินการสมดุลของน้ำเข้าและออก ถ้าน้ำเข้ามากกว่าน้ำออกทำให้ร่างกายเกิดภาวะน้ำเกินได้
5.วัด Vital sign ทุก 4 ชม.
6.ติดตามผล Lab BUN Crเพราะเป็นการประเมินการทำงานของไตในการกรองของเสีย
พร่องกิจวัตรประจำวัน
1.ประเมินอาการทางระบบประสาทว่า ผู้ป่วยมีข้อจำกัดในการ เคลื่อนไหวมากน้อยเพียงใด
2.แนะนำให้ผู้ป่วยค่อยๆเพิ่มระดับกิจกรรมในแต่ละเวร เช่น เริ่มให้ผู้ป่วยนั่งห้อยเท้าบนเตียงก่อนและค่อยๆเพิ่มระดับของกิจกรรมโดยวางแผนร่วมกับผู้ป่วยและจัดให้ผู้ป่วยได้มีเวลาพักตามความเหมาะสม
3.แนะนำผู้ป่วยหากมีอาการเหนื่อย อ่อนเพลียมากขณะปฏิบัติกิจกรรมหรือออกแรง ควรหยุดทำกิจกรรมและพัก
4.ช่วยผู้ป่วยในการเคลื่อนไหว เช่น ลุกนั่ง หรือ พลิกตัว
5.ให้ผู้ป่วยออกกำลังกาย
ปริมาณเลือดบีบออกจากหัวใจลดลงเนื่องจากลิ้นหัวใจรั่ว
ประเมินการทำงานของหัวใจ และV/S
ประเมินระดับความรู้สึกตัว โดยสังเกตอาการทางระบบประสาทว่าไม่มีอาการสับสนหรือกระสับกระส่าย หรือซึมลง
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
การรักษ