Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Triple vessel disease**(TVD)** (ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (เสี่ยงต่อการติดเช…
Triple vessel disease**
(TVD)**
สาเหตุ
ผู้ป่วยอายุ 62 ปี ผู้สูงอายุมีการเสื่อมโทรมตามทฤษฎี(wear and tear theory) เปรียบเทียบอวัยวะเหมือนเครื่องจักร ใช้ไปนานๆก็เสื่อมโทรมและมีการรับประทานอาหารอย่างเช่น อาหารที่มีไขมันมากและคาร์โบไฮเดรต
ผู้ป่วยมีโรคประจำตัว
-โรคเกาต์ ป่วยเป็นเวลา 5ปีเป็นภาวะกรดยูริกในเลือด เกิดจากร่างกายกำจัดกรดยูริกออกไปไม่หมด
-โรคเบาหวาน ป่วยเป็นเวลา30ปี มีภาวะนำ้ตาลในเลือดสูงหรือโรคเบาหวานระดับนำ้ตาลในเลือดสูงเรื้อรังส่งผลให้เกิดการเสื่อมของหลอดเลือดทั้งขนาดเล็กเเละขนาดใหญ่ทำให้เซลล์เยื่อบุภายในหลอดเลือดทำงานผิดปกติเป็นปัจจัยที่ทำให้หลอดเลือดเเดงเข็งซึ่งให้อวัยวะต่างๆของร่างกายเสื่อมสภาพเเละภูกทำลายเเละทำให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตามมาได้
-โรคความดันโลหิตสูง ป่วยเป็นเวลา30ปี มีภาวะความดันโลหิตสูงจะทำให้กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างซ้าย หนาตัวขึ้นซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญต่อการเกิดโรคหัวใจเเละหลอดเลือด โดยมีระดับของ
Cholesterolสูงถึง273 mo/dL
HDL-chol 31 mo/dL
LDL-cholesterol 216mo/dL
Triglyceride 280 mo/dL
จึงสาเหตุทำให้ไขมันไปเกาะหลอดเลือดเเดงทำให้ผนังชั้นในตีบเเคบเเละทำให้เลือดไปเลือดร่างกายลดลง
อาการ
เจ็บเเน่นหน้าอก เหมือนมีอะไรมากดทับ
เพราะเลือดไปเลี้ยงเซลล์กล้ามเนื้อไม่เพียงพอ
ปวดร้าวไปถึงไหล่ด้านซ้าย
การรักษา
การผ่าตัด
OPCAB * 4เส้น
ยา
ASA(81) 1*1 oral pc
Plvix(75) 1*1 oral pc
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการติดเชื้อบริเวณเเผลผ่าตัด
1 ประเมินดูแผลของผู้ป่วยว่ามีการบวมเเดง มีหนองออกจากแผลเป็นต้น
2.ทำความสะอาดเเผลวันละ1-2ครั้ง ตามแผนการรักษา
3.เเนะนำไม่ให้ผู้ป่วยเปิดปิดแผลเเละเอาไปเเกะเกาเเผลระวังไม่ให้แผลโดยน้ำ
4.ทำความสะอาดร่างกายผู้ป่วย และจัดสิ่งเเวดล้อมรอบเตียง
5.เเนะนำให้รับประทานอาหารที่ส่งเสริมการหายของแผลเช่น นม1-2แก้ว/วัน ไข่ขาว1-2ฟอง ผัก เเละผลไม้ต่างๆ
6.ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ WBC,Neutrophil,Lymphocyte
เสี่ยงต่อภาวะHypo-Hyperglycemiaเนื่องจากใช้อินซูลินผิดปกติ
1.ประเมินอาการและอาการเเสดงของHypoglycemia เช่น นำ้ตาลในเลือดตำ่กว่า 50mg% รู้สึกหิว กระสับกระส่าย มือไม้สั่น ใจหวิว ใจสั่น เหงื่ออก มึนงง วิงเวียนศีรษะ หน้ามืด ตาลาย ถ้าพบอาการเหล่านี้ไห้เเจ้งเเพทย์หรือพยาบาล
2.ประเมินอาการเเละอาการเเสดงของHyperglycemia เช่น กระหายน้ำ คลื่นไส้ ปัสสาวะบ่อยเเละมากผิดปกติโดยเฉพาะกลางคืน อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย นำ้หนักลด ตาพร่ามัว ซึม อาจถึงขั้นหมดสติ ถ้าพบอาการเหล่านี้ให้เเจ้งเเพทย์หรือพยาบาลทันที
3.ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ FBS e'lyte
4.ได้รับRIตามแผนการรักษาของเเพทย์
5.เเนะนำให้รับประทานครบ5หมู่ดื่มนมให้พอเหมาะกับวัย หลีกเลี่ยงอาหารหวาน มัน และเค็ม หลีกเลี่ยงนำ้อัดลมที่ใส่นำ้ตาล หลีกเลี่ยงคุกกี้ เค้ก ลูกอมที่มีรสหวานมากเป็นพิเศษ หลีกเลี่ยงการดื่มเเอลกอฮอล
6.เเนะนำญาติเกี่ยวกับการรับประทานอาหารของผู้ป่วย ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มัน และมีรสหวาน ถ้าผู้ป่วยได้รับประทานเข้าไปอาจจะมีภาวะHypo-Hyperglycemiaได้
พร่องกิจวัตรประจำวันเนื่องจากประสิทธิภาพในการเคลื่อนไหวลดลง
1.ประเมินวัดสัญญาณชีพทุก4 ชั่วโมง
2.ประเมินตามศักยภาพความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย
3.ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจวัตรประจำวัน เช่น ทำความสะอาดร่างกายทั่วไป ความสะอาดสิ่งเเวดล้อมรอบเตียง
4.ดูเเลในเรื่องของการขับถ่ายปัสสาวะเเละอุจจาระ
5.จัดท่านอนให้ผู้ป่วยนอนในท่าที่สุขสบายดูเเลให้ผู้ป่วยได้หลับพักผ่อน
มีปริมาณเลือดออกจากหัวใจต่อนาทีลดลงเนื่องจากประสิทธิการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจลดลง
1.ประเมินอาการเเละอาการเเสดงปริมาณเลือดออกจากหัวใจลดลง เช่น มีอัตราการเต้นของหัวใจเร็ว หายใจเร็ว ความดันต่ำ มีPulse pressure เเคบ ปลายมือปลายเท้าเย็น ชีพจรเบา
2.ประเมินสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง
5.บันทึกนำ้เข้าออกทุก8ชั่วโมง
4.Monitor EKG ดู PVC, VT
3.ให้นอนพัก หลีกเลี่ยงการออกเเรงเบ่งอุจาระ
เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ พัดตกเตียงเนื่องจากประสิทธิภาพในการเคลื่อนไหวลดลง
1.ช่วยในการพลิกตะเเคงตัวทุก2ชม.
2.ส่งเสริมให้ออกกำลังกายข้อมือข้อเท้าโดยการงอเหยียดขณะนอนพักบนเตียงเมื่อไม่มีอาการเจ็บหน้าอก
3.ส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมทำกิจวัตรประจำวัน
4.จัดสิ่งเเวดล้อมรอบเตียงไม่ให้มีสิ่งกีดขวาง
5.เเนะนำผู้ป่วยเมื่อทำกิจกรรมที่ออกเเรงควรต้องมีผู้คอยช่วยเหลือ
6.เมื่อทำหัตถการเสร็จทุกครั้ง ควรเอาไม้กั้นเตียงขึ้นทุกครั้ง
การวินิจฉัย
Echocardiogram
Diagnosis: ischemic cardiomyopathy(EF46%)Mild MR
ผลEcho:EF(Teich) 46.34%
CAG (coronary artery angiograhy)
=LAD: 80% diffuse stenosis-proximal to mid LAD,
LCX
:Chronic total occlusion-poximal LCX ,
RCA
:90%stenosis-mid to distal
อาการสำคัญที่นำมาโรงพยาบาล
เจ็บหน้าอกก่อนมาโรงพยาบาล8ชั่วโมง
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
10ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล เจ็บเเน่นหน้าอกทันที เจ็บกลางอกเหมือนมีอะไรมากดทับ ร้าวไปไหล่ซ้าย นั่งพัก5นาทีดีขึ้น 8ชั่วโมง ก่อนมาโรงพยาบาลร้าวไปไหล่ซ้าย นั่งพักไม่ดีขึ้น เป็นเวลานอน นอนราบไม่ได้ไม่มีเหงื่อเเตกไม่มีใจสั่นไม่มีไข้จึงมาที่โรงพยาบาล