Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:warning:ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล :warning: (เสี่ยงต่อการได้รับสารอาหารไม่เ…
:warning:ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
:warning:
เสี่ยงต่อการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
เนื่องจากความไม่สมบูรณ์ของระบบทางเดินอาหาร
:star: กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการรับนมไม่ได้ เช่น อาเจียน นมไหล
ย้อนกลับ ท้องอืด จำนวนนมเหลือค้างมาก
2.จัดท่าให้ทารกนอนคว่ำ หรือตะแคงขวา และศีรษะสูง
เพื่อให้นมผ่านกระเพาะอาหารเข้าสู่ลำไส้ได้เร็วขึ้น
3.ช่วยส่งเสริมการดูด โดยการนวดบริเวณรอบปาก
และจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม
4.ดูแลอุ่นนมก่อนให้ทารก นมที่ให้ควรมีอุณหภูมิ
ใกล้เคียงนมแม่ประมาณ37 องศาเซลเซียส
5.ก่อนให้นมทางสายยางให้อาหาร ควรดูดปริมาณที่ค้างอยู่ในกระเพาะ
อาหารมาดูก่อน แล้วลดปริมาณนมมื้อใหม่ตามจำนวนนมที่เหลือ
ดูแลให้ได้รับสารน้ำและสารอาหาร
ตามแผนการรักษาของแพทย์
BM/PF4 (24 kcal/oz) 18 ml x 8 feeds
10%DN/2 IV rate 1.2ml/hr
6.ชั่งน้ำหนักทารกทุกวัน เพื่อประเมินน้ำหนักของทารก
ว่าเพิ่มขึ้นหรือไม่ปกติจะเพิ่มวันละ 20-30กรัม
7.วัดเส้นรอบท้องและฟังเสียงการเคลื่อนไหว
ของลำไส้ เพื่อประเมินอาการท้องอืด
8.วัดและบันทึกการเจริญเติบโตทุกสัปดาห์
เช่น เส้นรอบศีรษะ ความยาวของลำตัว
9.ดูแลให้วิตามินและแร่ธาตุตามแผนการรักษา
10.ติดตามผลอิเล็กโทรลัยต์
:pencil2: ข้อมูลสนับสนุน
จากประวัติการคลอด GA 29+2 weeks
น้ำหนักแรกคลอด 1,148 กรัม
จากแผนการรักษาผู้ป่วยได้รับยา ดังนี้
10 % Sodium Chloride 0.4 ml oral x 8Feed
Erythromycin 4.5 mg oral q 6hr.
จากแผนการรักษาผู้ป่วยได้รับ
สารน้ำและสารอาหารดังนี้
BM/PF4 (24 kcal/oz) 18 ml x 8feeds
10%DN/2 IV rate1.2ml/hr
ผู้ป่วยมีความยาวลำตัว 36 เซนติเมตร
ผู้ป่วยมีเส้นรอบศีรษะ 27 เซนติเมตร
จากการสังเกต ผู้ป่วยใส่สายยางให้
อาหารทางปาก (Orogastric tube)
:red_flag:Subjective data
: None
:red_flag:Objective data
เสี่ยงต่อการติดเชื้อเนื่องจากระบบภูมิคุ้มกันโรคยังไม่สมบูรณ์
:pencil2:
ข้อมูลสนับสนุน
จากการสังเกต บริเวณสะดือมีบวมแดงเล็กน้อย
สัญญาณชีพ
Respiratory Rate : 66 bpm
BloodPressure:72/48mmHg
Pulse Rate : 172 bpm
Oxygen saturation : 99%
Temperature : 37.3 ๐C
จากการวินิจฉัยโรคของแพทย์ พบว่า R/O EONS
ผู้ป่วยได้รับยา
Ampicilin 110 mg IV q 12 hr
Cefotaxime 55 mg IV drip q 12 hr
จากการสังเกตผู้ป่วย on UVC
:red_flag:Subjective data
: None
:red_flag:Objective data
:star:กิจกรรมการพยาบาล :
1.ประเมินและสังเกตอาการผิดปกติเป็นระยะๆ เช่น อาการซึม
ไม่ดูดนม ท้องอืด อาเจียน ตัวเหลือง ชัก เกร็ง เป็นต้น
2.ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพ เพื่อติดตาม
การเปลี่ยนแปลงอย่างน้อยทุก 4 ชั่วโมง
7.ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ุ6.ดูแลให้ทารกได้รับยาปฏิชีวนะอย่างถูกต้อง ครบถ้วน
ตามแผนการรักษาและติดตามผลข้างเคียงจากยา
3.รักษาอุณหภูมิร่างกายให้อยู่ในระดับปกติและควบคุมอุณหภูมิ
สิ่งเเวดล้อมให้เหมาะสมกับการปรับอุณหภูมิกายของทารก
4.ดูแลรักษาความสะอาดร่างกายทารกและ
สิ่งแวดล้อมจัดให้ทารกได้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
5.ล้างมือให้สะอาดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
ก่อนและหลังการให้การพยาบาลผู้ป่วย