Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เวชศาสตร์ครอบครัว (บท 2 : ครอบครัวมีอิทธิพลกระทบต่อสุขภาพและความเจ็บป่วยอย…
เวชศาสตร์ครอบครัว
บท 2 : ครอบครัวมีอิทธิพลกระทบต่อสุขภาพและความเจ็บป่วยอย่างไร
1.ครอบครัวที่สร้างเสริมสุขภาพและการลดความเสี่ยง
2.ครอบครัวที่ส่งผลทำให้มีการเจ็บป่วยง่ายขึ้น
ครอบครัวที่ประเมินค่าความเจ็บป่วย
4.ครอบครัวตอบสนองต่อความเจ็บป่วยฉับพลัน
5.ครอบครัวที่ปรับตัวต่อความเจ็บป่วยและการฟื้นฟู
บท 1 : การดูแลผู้ป่วยอย่างเป็นองค์รวมตามหลักเวชศาสตร์ครอบครัว
การทำความเข้าใจผู้ป่วยอย่างเป็นองค์รวมการ คือ การมีความเข้าใจผู้ป่วยทั้งส่วนโรคที่เป็นปัญหาสุขภาพและความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นจากโรคเหล่านั้นได้กระทบต่อชีวิตครอบครัวและสังคมของผู้ป่วยซึ่งจะช่วยทำให้แพทย์เกิดความเข้าใจผู้ป่วยมากขึ้นสามารถวางแผนการดูแลรักษาได้อย่างจำเพาะเจาะจงและมีความสมบูรณ์ครอบคลุม
องค์ประกอบของการเข้าใจผู้ป่วยอย่างเป็นองค์รวม
1.Disease โรค
3.Life context บริบทชีวิต
2.Illness ความเจ็บป่วย
แนวทางดูแลผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางตามหลักเวชศาสตร์ครอบครัว
Case approach
Whole person approach
Family-oriented approach
Family as a unit approach
บท 4 : การดูแลผู้ป่วยร่วมกับครอบครัว
ระดับของการมีส่วนร่วมของครอบครัว :
ระดับที่ 3 แสดงความเห็นใจและให้กำลังใจ
ระดับที่ 4 การประเมินครอบครัวและให้คำปรึกษา
ระดับที่ 2 การให้ข้อมูลและให้ความร่วมมือ
ระดับที่ 5 การให้การบำบัดครอบครัว
ระดับที่ 1 มีปฏิสัมพันธ์ระดับน้อย
ควรเริ่มชักชวนให้ครอบครัวเข้ามาร่วมในการดูแลอย่างไร?
แสดงการเชื้อเชิญครอบครัวโดยให้เหตุผลถึงประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นและตรงไปตรงมา
คอยกระตุ้นให้ผู้ป่วยและหรือครอบครัวทราบว่าครอบครัวมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการดูแลปัญหาสุขภาพของผู้ป่วย
ควรให้ครอบครัวเข้ามามีส่วนร่วมตั้งแต่เนิ่นๆ
เมื่อครอบครัวมารวมตัวกันแล้วให้ระบุเรื่องที่มาปรึกษาเป็นปัญหาเป็นเรื่องการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยว่าจะหาทางแก้ไขได้อย่างไรบ้าง
หลักการพื้นฐานของการทำงานร่วมกับครอบครัว
ประเด็นพื้นฐานที่ต้องคำนึงถึงในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยคือ“ ผู้ป่วยภายใต้บริบทครอบครัวของผู้ป่วย”
3.พึงระลึกว่าทั้งผู้ป่วยครอบครัวและบุคลากรทางการแพทย์ต่างเป็นทีมเดียวกันที่ร่วมกันดูแลสุขภาพผู้ป่วย
การดูแลสุขภาพโดยยึดครอบครัวเป็นศูนย์กลางควรใช้แนวทางการดูแลแบบองค์รวมที่ดูทั้งร่างกายจิตใจและสังคม
4.การดูแลโดยยึดครอบครัวเป็นศูนย์กลางได้นั้นจะเป็นตัวสะท้อนว่าทีมที่ดูแลสามารถให้การดูแลได้อย่างเหมาะสมจริงหรือไม่
บท 3 : การค้นหาอิทธิผลของครอบครัวในมุมมองผู้ป่วย 5 คำถามที่ใช้เพื่อค้นหาอิทธิผลของครอบครัว
ประเด็นข้อมูลครอบครัวที่สามารถนำมาใช้ในการดูแลผู้ป่วยมี 5 ด้าน
ความเครียดในครอบครัวที่เกิดขึ้นหรือการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระยะใกล้เคียงกับการมีปัญหาสุขภาพ
ความสัมพันธ์ระหว่างบริบทครอบครัวกับความกังวลในปัญหาสุขภาพของผู้ป่วย
รูปแบบความเชื่อทางด้านสุขภาพของครอบครัว
ผู้สนับสนุนดูแลผู้ป่วยในครอบครัว
ประวัติโรคและการเจ็บป่วยในครอบครัว
คำถามเพื่อหาข้อมูลอิทธิผลของประเด็นครอบครัวที่ใช้ในการดูแลผู้ป่วยมี 5 ด้าน
3.“ ในช่วงที่มีอาการไม่สบายนี้มีเรื่องไม่สบายใจอะไรเกิดขึ้นกับตัวคุณเองหรือคนในครอบครัวหรือไม่” คำถามประเด็นนี้ช่วยให้ข้อมูลเรื่องความเครียดภายในครอบครัวที่เกิดขึ้นหรือการเปลี่ยนแปลงสมดุลที่เกิดขึ้นเช่นมีการทะเลาะเบาะแว้งการหย่าร้างการเจ็บป่วยที่ร้ายแรงหรือการเสียชีวิต เป็นต้น
4.“ คุณคิดว่าใครในครอบครัวที่เป็นห่วงเรื่องอาการเจ็บป่วย (ระบุปัญหา) ของคุณมากที่สุดและเพราะอะไรทำให้เป็นเช่นนั้น” ช่วยให้ข้อมูลเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างบริบทครอบครัวกับความกังวลในปัญหาสุขภาพของผู้ป่วย
5.“ คุณคิดว่าใครในครอบครัวที่จะช่วยดูแลหรือจัดการปัญหานี้ร่วมกับคุณ” คำถามประเด็นนี้ช่วยให้ข้อมูลเรื่องใครในครอบครัวจะเป็นผู้สนับสนุนดูแลผู้ป่วย สมาชิกคนนี้มักมีบทบาทหลักในเรื่องสุขภาพของผู้ป่วย
2.“ คุณคิดว่าคนอื่นๆในครอบครัว (อาจทำการระบุคนที่เกี่ยวข้องที่ชัดเจนเช่นสามีภรรยา / พ่อแม่ลูกๆ) เชื่อว่าอาการ / โรคมีสาเหตุเกิดจากอะไรและเขาอยากให้ดูแลรักษาอย่างไร” คำถามประเด็นนี้ช่วยให้ข้อมูลเรื่องรูปแบบความเชื่อทางด้านสุขภาพของครอบครัว
1.“ เคยมีใครในครอบครัวมีอาการ / เป็นโรคเดียวกับคุณหรือไม่” คำถามประเด็นนี้ช่วยให้ข้อมูลเรื่องประวัติโรคในครอบครัวของผู้ป่วย