Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหัก (กลไกการบาดเจ็บ (การบาดเจ็บที่เกิดจากการกระทบกระ…
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหัก
กลไกการบาดเจ็บ
การบาดเจ็บที่เกิดจากการกระทบกระแทก
Blunt injury
การถูกกระแทกโดยตรง (direct force)/บาดเจ็บจากแรงกดกระแทก (Compression injury
Patho
เมื่อกระดูกหักจะมีเลือดออกจากตัวกระดูกและเนื้อเยื่อรอบๆ กระดูก เมื่อเลือดหยุดไหลจะเกิดเป็นก้อนเลือดตรงบริเวณที่หักทำให้กระดูกสูญเสียความมั่นคง ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ตามปกติ และมีอาการปวดและชาเนื่องจากการสูญเสียการทำงานชั่วคราวของเส้นประสาท
หากมีกระดูกหักบริเวณใกล้ข้อจะทำให้มีการฉีกขาดของเอ็นกระดูกและเอ็นกล้ามเนื้อเยื่อหุ้มข้อร่วมด้วย ทำให้มีเลือดออกเพิ่มขึ้นจากการที่เนื้อเยื่อบริเวณกระดูกที่หักเกิดการอักเสบ รวมทั้งจะมีการขยายตัวของหลอดเลือดทำให้บริเวณที่กระดูกหักเกิดอาการบวม กระดูกที่หักบริเวณแขนขาจะมีความยาวสั้นลงและผิดรูปออกไป เนื่องจากแรงดึงของกล้ามเนื้อตามแกนยาวของกระดูกทำให้กระดูกเกยกัน
หากกระดูกรูปยาวหักอาจหักเป็นมุม เนื่องจากแรงดัด หรือโก่ง และแรงดึงของกล้ามเนื้อบริเวณรอบๆ กระดูกหักไม่เท่ากัน
การอักเสบเป็นระยะเวลานานจะทำให้เกิดพังผืด (Fibrosis) ขึ้นได้ โดยเฉพาะกระดูกหักบริเวณข้อ พังผืดที่เกิดรอบๆ ข้อทำให้ข้อติดแข็ง
กระดูกที่หักจะมีการซ่อมแซมตามธรรมชาติโดยมีการสร้างกระดูกใหม่ที่เรียกว่า แคลลัส (Callus) เกิดขึ้นซึ่งจะช่วยตรึงกระดูกที่หักให้ติดกันแต่อาจมีปัญหากระดูกไม่ติดกัน เนื่องจากมีเยื่อพังผืดคั่นระหว่างปลายกระดูกที่หัก
Fracture
Open fracture: กระดูกหักทิ่มออกมานอกเนื้อมีแผลเปิดที่ผิวหนังจนเห็นกระดูก
Close fracture: กระดูกหักแต่ผิวหนังที่คลุมอยู่ไม่มีบาดแผล
วินิจฉัย - การซักประวัติ ขับรถจักรยานยนต์แหกโค้งชนกับต้นไม้แขนขวาท่อนล่างมีแผลฉีกขาด suture with nylon 10 stiches ต้นขาขวา บวม ผิดรูป On Skeletal traction right leg with weight 7 kgs- การตรวจร่างกาย ต้นขาขวา บวม ผิดรูป เดินไม่ได้มีแผลถลอกบริเวณใบหน้า แขนขวาท่อนล่างมีแผลฉีกขาด -การตรวจด้วยเอกซเรย์ Chest X-Ray, Right femur
สาเหตุ
ขับรถจักรยานยนต์แหกโค้งชนกับต้นไม้ จัดเป็นชนิดแรงกระทำโดยตรง (Direct force)
อาการ
ขาขวา บวม ปวด ผิดรูป เดินไม่ได้
มีแผลถลอกบริเวณใบหน้า แขนขวาท่อนล่างมีแผลฉีกขาด