Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ (หมวด ๑ สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ…
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐
หมวด ๑ สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ
มาตรา ๕ บุคคลมีสิทธิในการดํารงชีวิตในสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
บุคคลมีหน้าที่ร่วมกับหน่วยงานรัฐในการดำเนินการให้เกิดสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมตามวรรณหนึ่ง
มาตรา ๖ สุขภาพของหญิงในด้านสุขภาพทางเพศและสุขภาพของระบบเจริญพันธุ์ซึ่งมีความจําเพาะ ซับซ้อนหญิงตลอดช่วงชีวิต ต้องได้รับการสร้างเสริม และคุ้มครองอย่างสอดคล้องและเหมาะสม
คนด้อยโอกาสในสังคม
คนสูงอายุ
คนพิการ
สุขภาพของเด็ก
มาตรา ๘ ในการบริการสาธารณสุข บุคลากรด้านสาธารณสุขต้องแจ้งข้อมูลด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการให้ผู้รับบริการทราบ เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจในการรับ หรือไม่รับบริการ
ในกรณีที่ผู้รับบริการปฏิเสธไม่รับบริการใด จะให้บริการนั้นมิได้
กรณีที่เกิดความเสียหายหรืออันตรายแก่ผู้รับบริการ
เว้นแต่เป็นกรณีที่ผู้ให้บริการประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
ผู้รับบริการปกปิดข้อเท็จจริงที่ตนรู้ หรือแจ้ง ข้อความอันเป็นเท็จ ผู้ให้บริการไม่ต้องรับผิดชอบ
มาตรา ๗ ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคค เป็นความลับส่วนบุคคล ผู้ใดจะนําไปเปิดเผยในประการที่น่จะทำให้บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้
เว้นแต่การเปิดเผยนั้นเป็นไปตามความประสงค์ของบุคคลนั้น โดยตรงหรือมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย
มาตรา ๑๐ เมื่อมีกรณีที่จะมีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนเกิดขึ้น รัฐที่มีข้อมูลเกี่ยวกับกรณีดังกล่าว ต้องเปิดเผย ข้อมูลนั้นและวิธีป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพ
การเปิดเผยข้อมูลตามวรรคหนึ่งต้องไม่มีลักษณะเป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของบุคคลใดเป็นการเฉพาะ
มาตรา ๑๑ บุคคลหรือคณะบุคคลมีสิทธิร้องขอให้มีการประเมินและมีสิทธิร่วมในกระบวนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ จากนโยบายสาธารณะ
บุคคลหรือคณะบุคคลมีสิทธิได้รับรู้ข้อมูล คำชี้แจงและเหตุผล จากหน่วย
งานของรัฐก่อนการอนุญาต หรือการดําเนินโครงการหรือกิจกรรม
มาตรา ๑๒ บุคคลมีสิทธิทําหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์ จะรับบริกาสาธารณสุข ที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตตนหรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วยได้
ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุข ปฏิบัติตามเจตนาของบุคลตามวรรณหนึ่ง ไม่ถือว่าการกระทำนั้นเป็นความเป็นผิด
มาตรา ๙ ในกรณีที่ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขประสงค์ จะใช้ผู้รับบริการเป็นส่วนหนึ่งของการทดลองในงานวิจัย
ต้องแจ้งให้ผู้รับบริการทราบล่วงหน้า
ต้องได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจากผู้รับบริการก่อน
ผู้รับบริการจะเพิกถอนเสียเมื่อใดก็ได้
ความหมาย
เป็นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชีวิตคนไทยทุกคน เป็นเครื่องมือเสริมสร้างให้ประเทศมีระบบสุขภาพที่เข้มแข็ง มีเป้าหมายเผื่อให้คนไทยสมบูรณ์ทั้งกายใจ
แนวคิดสำคัญ
เน้นหลักป้องกันมากกว่ารักษา
ประชาชนมีส่วนร่วมคิด ร่วมทำ แก้ไขปัญหา
รับรองสิทธิประชาชนให้ได้รับการคุ้มครองทั่วถึง
สร้างความเข้าใจการดูแลสุขภาพ รวมถึงสภาพแวดล้อม