Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้า (แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (2.เครื่องกำเนิดไฟฟ้า(Generator)…
การเกิดไฟฟ้า
- ไฟฟ้าที่เกิดจากการเสียดสีของวัตถุ เป็นไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจากการนำวัตถุต่างกัน 2 ชนิดมาขัดสีกัน
- ไฟฟ้าที่เกิดจากการทำปฏิกิริยาทางเคมี เป็นไฟฟ้าที่เกิดจากการนำโลหะ 2 ชนิดที่แตกต่างกัน โลหะทั้งสองจะทำปฏิกิริยาเคมีกับสารละลายอิเล็กโทรไลท์ ซึ่งปฏิกิริยาทางเคมีแบบนี้เรียกว่า
“โวลตาอิกเซลล์”
4.ไฟฟ้าที่เกิดจากพลังงานแสงอาทิตย์ โดยสามารถสร้างเซลล์แสงอาทิตย์(Solar Cell) ที่ทำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานไฟฟ้า ปัจจุบันเครื่องใช้ไฟฟ้าหลายชนิดใช้พลังงานแสงอาทิตย์ได้
- ไฟฟ้าที่เกิดจากพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า
-
ตัวนำฉนวน
ตัวนำไฟฟ้า
ตัวนำ (Conductor) คือ สสาร วัตถุ วัสดุ หรือ อุปกรณ์ที่สามารถยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ง่าย หรือวัตถุที่มีความต้านทานต่ำ ได้แก่ ทองแดง อลูมิเนียม ทอง และเงิน ซึ่งเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดีที่สุด แต่ในสายไฟทั่วไปจะใช้ทองแดงเป็นตัวนำ เพราะตัวนำที่ทำจากจะเงินมีราคาแพง
ฉนวนไฟฟ้า
ฉนวน (Insulator) คือ สสาร วัตถุ วัสดุ หรือ อุปกรณ์ที่ไม่สามารถยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไปได้ หรือ ต้านการไหลของกระแสไฟฟ้าไม่ให้ผ่านไปได้ ได้แก่ ไม้แห้ง พลาสติก, ยาง, แก้ว และกระดาษแห้ง เป็นต้น
-
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า คือ อุปกรณ์ที่สามารถจ่ายพลังงานให้แก่ประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนี่ต่อกับแหล่งกำเนิดนั้น ซึ่งนิยมบอกแรงเคลื่อนที่ไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้า(Electric Current) คือ ประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระจากศักย์ไฟฟ้าสูงไปหาศักย์ไฟฟ้าต่ำ
แรงเคลื่อนไฟฟ้า(Electromotive force or emf) หมายถึง พลังงานไฟฟ้าต่อหนึ่งหน่วยประจุที่แหล่งกำเนิดไฟฟ้าสามารถจ่ายให้แก่ประจุไฟฟ้ามีหน่วยเป็น”จูล”ต่อ”คูลอมบ์” หรือ โวลต์
-
-
หน่วยวัดไฟฟ้า
1.กระแสไฟฟ้า หน่วย แอมแปร์ หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า แอมป์ (สัญลักษณ์ : A) เป็นหน่วยวัดกระแสไฟฟ้า หรือปริมาณของประจุไฟฟ้าต่อวินาที แอมแปร์เป็นหน่วยฐานเอสไอ ตั้งชื่อตามอ็องเดร-มารี อ็องแปร์ นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส หนึ่งในผู้ค้นพบแม่เหล็กไฟฟ้า
- แรงดันไฟฟ้า หน่วย โวลต์ (สัญลักษณ์ : V) คือหน่วยอนุพันธ์ในระบบเอสไอของความต่างศักย์ไฟฟ้า ปริมาณที่กำกับด้วยหน่วยโวลต์นั้นคือผลการวัดความเข้มของแหล่งจ่ายไฟฟ้าในแง่ที่ว่าจะสร้างพลังงานได้เท่าใดที่ระดับกระแสค่าหนึ่ง ๆ โวลต์ซึ่งเป็นชื่อของหน่วยนี้ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติให้แก่ อาเลสซันโดร วอลตา (พ.ศ. 2288 - 2370) ผู้คิดค้นแบตเตอรี่เคมีชนิดแรกที่เรียกว่าเซลล์โวลตาอิก
- ความต้านทานทางไฟฟ้า หน่วย โอห์ม (อังกฤษ: ohm) (สัญลักษณ์ : Ω) เป็นหน่วยเอสไอ (SI) International System of Units ของค่าอิมพีแดนซ์ทางไฟฟ้า ในกรณีของกระแสสลับ หรือค่าความต้านทานไฟฟ้า ในกรณีของกระแสตรง ตั้งชื่อตาม จอร์จ โอห์ม นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน
4.กำลังไฟฟ้า หน่วย วัตต์ (watt, สัญลักษณ์ W) เป็นหน่วยเอสไอของกำลังตั้งชื่อตาม เจมส์ วัตต์ ตัวอย่างพลังงานในหน่วยวัตต์ เช่น หลอดไฟที่ใช้ตามบ้านใช้ 100 วัตต์ ขณะที่ เขื่อนฮูเวอร์ผลิตสองพันล้านวัตต์
- ความจุไฟฟ้า ฟารัด (มักออกเสียง ฟาหรัด) (สัญลักษณ์: F) เป็นหน่วยเอสไอของค่าความจุทางไฟฟ้า มักระบุเป็นค่าของตัวเก็บประจุ หรือคาปาซิเตอร์ ที่พบได้ทั่วไปในวงจรอิเล็กทรอนิกส์
6ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า หน่วย เฮนรี่ ตั้งชื่อตาม โจเซฟ เฮนรี่ ผลงานของเขามีมากมาย ได้แก่ การนำขดลวดพันรอบแกนเหล็กหลายๆ แบบ หลายๆรอบ และเมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าไป ทำให้เเกิดอำนาจแม่เหล็กขึ้น
คุณสมบัติของไฟฟ้า
-
-
คุณสมบัติของวงจรผสม
เป็นการนำเอาคุณสมบัติของวงจรอนุกรมและคุณสมบัติของวงจรขนานมารวมกันซึ่งหมายความว่าถ้าตำแหน่งที่มีการต่อแบบอนุกรมก็เอาคุณสมบัติของวงจรการต่ออนุกรมมาพิจารณาตำแหน่งใดที่มีการต่อแบบขนานก็เอาคุณสมบัติของวงจรการต่อขนานมาพิจารณาไปทีละขั้นตอน
-
-