Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด (:<3: สาเหตุ (การมีเลือดออกในระยะตั้งครรภ์,…
ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
:<3: สาเหตุ
การมีเลือดออกในระยะตั้งครรภ์
มีการยืดขยายปากมดลูกมาก
ปากมดลูกปิดไม่สนิท
มีการอักเสบติดเชื้อในร่างกาย
ฮอร์โมนมีการเปลี่ยนแปลง
เลือดไปเลี้ยงมดลูก/รกไม่เพียงพอ
พฤติกรรมสตรีตั้งครรภ์
มีการแตกถุงน้ำคร่ำ
ชักนำการคลอด
:tada: อาการและอาการแสดง
มดลูกหดรัดตัวเป็นพักๆสม่ำเสมอ
ปากมดลูกเปลี่ยนแปลง เช่นบางตัวและเปิดออก
อาจมีเจ็บครรภ์ร่วม
ปวดท้องน้อย บั้นเอว ปวดถ่วงในช่องคลอด ฝีเย็บ
ถ่ายปัสสาวะบ่อย หรือถุงน้ำแตก
:star: ผลเสียต่อมารดา
ต้องพักในโรงพยาบาล จำกัดกิจกรรม อาจนานเป็นสัปดาห์ GA ยังน้อยๆ
เสี่ยงเกิดภวะแทรกซ้อนจากได้ยาหดรัดตัวมดลูก
เสี่ยงต่อผลกระทบทางจิงใจ เครียด กังวลต่ออาการทารก
:star: ผลเสียต่อทารก
ขึ้นกับ GA เมื่อเกิดอาการเจ็บครรภ์
GA < 28 wk จะมีภาวะแทรกซ้อนเช่น RDS,BPD
GA 28-32 wk มีความเสี่ยงเหมือนกลุ่ม extreme
GA 32-34 wk มีความเสี่ยงเหมือนกลุ่ม very preterm
GA > 34 wk มีความเสี่ยงน้อยสุด
GA < 20 wk มักเสียชีวิต
:red_flag: แนวทางการรักษา
แบบประคับประคอง : สืบหาสาเหตุ ปรับพฤติกรรม เพื่อลดปัจจัยเสี่ยง
1 ยากลุ่มยับยั้งการหดรัดตัว พิจารณาเมื่อปาดมดลูกเปิดมากการ 2 Cm และบางตัวมากกว่า 80%
Beta adrenergic receptor agonist : Terbutaline
Calcium channel blockers : Nifedipine
NSAIDS : Indomethacin,Magnesium sulfate
2 ยากระตุ้นความสมบูรณ์ของปอด
Glucocorticoid เช่น Dexamethasone, ฺBetametasone
ยาปฎิชีวนะ
Erythomysin
:silhouette: การพยาบาล
:check: เพื่อป้องกัน
ดูแลน้ำหนักตัวให้ BMI อยู่ในเกณฑ์
คัดกรองสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง
ให้ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง ผลกระทบ วิธีปฎิบัติตัว
แนะนำให้มีบุตรในช่วงอายุ 18<x<35
:check: เพื่อประคับประคอง
1.สตรีที่มีอาการแสดงของ Preterm labor หรือมดลูกหดรัดตัว <4 ครั้งใน 20 นาที และปากมดลูกเปิดน้อยกว่า 2 cm แพทย์ให้สังเกตอาการแลไม่ให้ยายับยั้ง
ลดกิจกรรมต่างๆและนอนตะแคงซ้าย
3 ถ้า Admit นานอาจทำ NST เป็นระยะ
งด PV หากถุงน้ำคร่ำแตกให้รักษาความสะอาดสังเกตอาการแสดงการติดเชื้อ
:check: เมื่อได้ Calcium channel blockers
1.ดูแลให้ได้ Nifedipine 10-30 mg oral/sublingual ทันที หลัง15นาที ประเมิน Ut cont ถ้ามดลูกหดรัดตัวให้ยาซ้ำ 10-20mg q 4-8 hr จนมดลูกหดรัดตัวลดลงใน 48 hr และ ปริมาณสูงสุดไม่เกิน 180 mg/day
:check: เมื่อได้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
สตรีที่มีอาการแสดงของ preterm labor หรือ ปากมดลูกเปิด>2cm & ปากมดลูกบางตัว >80% แพทย์จะพิจรณาให้ยา เพื่อยืดอายุครรภ์
ข้อบ่งห้าม ทารกพิการ สตรีมีภาวะแทรกซ้อน เช่น PIH APH infection การคลอดก้าวหน้า Cx dilate >4cm
:check: เมื่อได้ยา Beta adrenergic receptor agonist
1.Record Ut cont & FHS q 4 hr.
2.Record V/S & I/O
3.ประเมิน SE เช่น ได้แก่ ใจสั่น เวียนศรีษะ อ่อนเพลีย คลื่นไส้ ปากแห้ง เหงื่อออก hyperglycemia
4.หากพบ PR > 140 T/min BP < 90/60 mmHg มีอาการ แน่นอก หายใจลำบาก หายใจเร็ว FHS>160bpm ให้รีบรายงานแพทย์
เตรียม antidote เช่น Lasix
:check: เมื่อได้รับ NSAIDs
1.ดูแลให้ได้รับ Indomethacin เริ่มต้น 50-100mg lode จากนั้นให้ 25mg oral q 4-6hr.
2.สังเกตอาการข้างเคียง เช่น คลื่นไส้อาเจียน กระเพาะอาหารอักเสบ เป็นต้น
:check: เมื่อไม่สามารถยับยั้งการคลอดได้
1.อธิบายแผนการรักษา การได้รับยากระตุ้น การปฎิบัติตัวระหว่างรอเพื่อคลอด
2.แนะนำให้นอนตะแคงซ้าย
3.ใช้วิธี non-pharmacological technique เพื่อบรรเทาความปวด
4.จัดท่า upright position
5.รายงานกุมารแพทย์ และเตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพทารก
6.ขณะคลอด ตัดฝีเย็บให้กว้าง
:check: ภายหลังคลอด
รีบดูดสารคัดหลังในปาก จมูก ผูกตัดสายสะดืออย่างรวดเร็ว เช็ดตัวทารกให้แห้ง
3 ให้มารดาได้สัมผัส โอบกอดทารก
2 ดูแลการหดรัดตัวของมดลูกหลังคลอด
4 ประคับประคองสภาพจิตใจของมารดาและครอบครัว