Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานของงานวิจัย10. การเขียนคำถามวิจัย (ธรรมชาติของการวิจัย (5.5…
ความรู้พื้นฐานของงานวิจัย10. การเขียนคำถามวิจัย
ความหมายของงานวิจัย
คือ เป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ืั้มีระบบ มีขั้นตอนชัดเจนปราศจากอคติส่วนตัว เพื่อนำไปใช้อธิบายปรากฏการณ์ สังคม เพื่อนำไปแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง
ธรรมชาติของการวิจัย
5.5 การวิจัยมีความเชื่อมั่น หมายถึง การวิจัยต้องมีความคงเส้นคงวาในการดำเนินการวิจัย
5.6 การวิจัยมีเหตุผล หมายถึง การวิจัยเป็นการดำเนินการที่จะต้องมีเหตุผลที่ชัดเจนใน การดำเนินการทุกขั้นตอนเพื่อให้ได้ผลการวิจัยที่ถูกต้อง
5.4 การวิจัยมีความเที่ยงตรง หมายถึง การวิจัยใดๆ จำเป็นต้องมีความเที่ยวตรงใน 2 ลักษณะ ได้แก่ ความเที่ยงตรงภายใน ที่สามารถระบุได้ว่าผลการวิจัยที่ได้เกิดจากตัวแปรที่ศึกษาเท่านั้น หรือ ผลการวิจัยสามารถใช้อธิบายปรากฏการณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และความเที่ยงตรงภายนอก ที่จะสามารถนำผลการวิจัยที่ได้ไปใช้สถานการณ์ที่มีความคล้ายคลึงกันได้อย่างครอบคลุม
5.7 การวิจัยเป็นการแก้ปัญหา หมายถึง การวิจัยเป็นการดำเนินการที่จะเริ่มต้นด้วยปัญหาที่เกี่ยวพันกันระหว่างปัญหา
5.3 การวิจัยมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน หมายถึง การวิจัยเป็นการดำเนินการที่มีจุดมุ่งหมายใน4ลักษณะ คือ บรรยาย อธิบาย พยากรณ์ และควบคุม
5.8 การวิจัยต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่ หมายถึง การวิจัยในแต่ละครั้งจะต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่เพื่อตอบคำถามตามวัตถุประวงค์ของการวิจัยนั้นๆ
5.2 การวิจัยเป็นการดำเนินที่เป็นระบบ หมายถึง การวิจัยการดำเนินการตามขั้นตอนวิธีการทางวิทยาศาสตร์
5.1 การวิจัยเป็นกระบวนการเชิงประจักษ์ หมายถึง การวิจัยเป็นกระบวนการแสวงหาคำตอบที่ต้องใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ที่มีความถูกต้อง เชื่อถือได้
5.10 การวิจัยต้องใช้ศักยภาพของผู้วิจัย คือ การวิจัยที่มีประสิทธิภาพจะต้องดำเนินการโดยที่ผู้วิจัยที่มีความรู้ความสามารถ
5.9 ารวิจัยมีวิธีการที่หลากหลาย หมายถึง การวิจัยจะมีวิธีการในการดำเนินการวิจัยที่ให้ผู้วิจัยได้เลือกใช้อย่างหลากหลายวิธีการตามความเหมาะสมของปัญหาการวิจัย
ขั้นตอนในการวิจัย
การกำหนดสมมุติฐาน
การเขียนเค้าโครงการวิจัย
การศึกษาเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การสร้างเครื่องมือรวบรวม
การกำหนดขอบเขตของปัญหา
ขั้นดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
เลือกหัวข้อปัญหา
จุดมุงหมายของการวิจัย
2.2 การวิจัยเป็นการสสรุปผล หลักเกณฑ์ และทฤษฏีที่ใช้ในการคาดคะเนเหตุการ์ณที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
2.3 การวิจัยเป็นการรวบรวมข้อมูล หรือปรากฏการณ์ที่สังเกตด้มาใช้ในการสรุปผล
2.1 เป้าหมายของการวิจัย คือ มุ่งหาคำตอบเพื่อนำมาแก้ไข
การจัดกระทำข้อมูล
Processing เป็นขั้นตอนของการจัดแบ่งประเภทของข้อมูล
Output เป็นขั้นตอนที่นำผลจากการขั้นตอนที่ได้่จาดขั้น Processing มาเขียนเป็นรายงานหรือเสนอในรูปแบบของตารางหรือแผนภูมิต่างๆ
Input เป็นการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์
การสรุปผลการวิจัยและเขียนรายงาน
แนวคิดพื้นฐานของการวิจัย
3.2 กฏความเป็นระบบของธรรมชาติ เป็นแนวคิดที่ระบุว่าปรากฏการณ์ใดๆ ที่เกิดขึ้นตามกฏของเหตุและผลของธรรมชาติจะมีรูปแบบของความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ค่อนข้างชัดเจน
3.3 กฏความสัมพันธ์ของธรรมชาติ เป็นแนวคิดที่ระบุว่า ในการเกิดปรากฏการณ์ใดๆ ที่แตกต่างกัน
3.1 กฏเหตุและผลของธรรมชาติ เป็นแนวคิดที่ระบุว่าปรากฏการณ์ใดๆ ที่เกิดขึ้นนั้นสามารถแสวงหาสาเหตุที่ก่อให้เกิดปรากฏการณ์นั้่นได้เสมอๆ
3.4 กฏองค์ประกอบหลักของธรรมชาติ เป็นแนวคิดที่ระบุตัวแปรสาเหตุและตัวแปรผลที่เกิดขึ้นนั้นๆ
3.5 กฏความน่าจะเป็นของธรรมชาติ เป็นแนวคิดที่ระบุว่าในปรากฏการณ์ใดๆ นั้น ความรู้ความจริงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ จะเป็นผลลัพธ์ของปรากฏการณ์ ที่มีความน่าจะเป็นในการเกิดค่อนข้างสูง
ประเภทของการวิจัย
6.3 จำแนกตามระเบียบวิธีวิจัย
6.3.2 การวิจัยเชิงบรรยาย เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อใช้บรรยายคุณลักษณะหรือปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตามสภาพการณ์ธรรมชาติของปรากฏการณ์นั้นในปัจจุบัน
6.3.2.1 การวิจัยเชิงสำรวจ เป็นการที่มีวัตถุปรงสงค์ เพื่อใช้บรรยายคุณลักษณะหรือปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นว่าเป็นอย่างไร
6.3.2.2 การศึกษาความสัมพันธ์ เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้บรรยายความสัมพันธ์ของคุณลักษณะ หรือปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น
6.3.2.3 การศึกษาพัฒนาการ เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้บรรยายการเปล่ยนแหลงที่เกิดขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป
การศึกษาความเจริญงอกงาม
2.การศึกษาแนวโน้ม
6.3.1 การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ ใช้ข้อมูลที่เกิดขึ้นในอดีตที่มีหลักฐาน
6.5 จำแนกตามเวลาที่ใช้ในการทพวิจัย
6.5.1 การวิจัยแบบตัดขวาง/ระยะสั้น เป็นการวิจัยที่ใช้เวลาในการวิจัยช่วงใดช่วงหนึ่งที่ผู้วิจัยสนใจแล้วนำมาสรุปผล
6.5.2 การวิจัยแบบต่อเนื่อง เป้นการวิจัยที่ใช้เวลาอย่างต่อเนื่องการเก็บรวบรวมข้อมูล
6.2 จำแนกตามลักษณะ
6.2.1 การวิจัยเชิงปริมาณ เป็นการวิจัยที่เก็บรวบรวมข้อมูลจากตัวแปรที่มีลักษณะเป็นตัวเลขที่ระบุระดับความมาก/น้อยของปรากฏการณ์ตามเกณฑ์มี่กำหนดให้ค่อนข้างชัดเจน
6.2.2 การวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการวิจัยที่เก็บรวบรวมข้อมูลจากตัวแปร
6.4 กสนจำแนกตามลักษณะของวิชาการ หรือศาสตร์
6.4.1 การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปรากฏการณ์ที่มักจะเกิดขึ้นตามธรรมชาติทืี่เกี่ยวกับสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต
6.4.2 การวิจัยทางสังคมศาสตร์ เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงวค์ เพื่อศึกษาประเด็นที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของมนุษย์
6.1 จำแนกตามประโยชน์ที่ได้รับหรือเหตุผลในการวิจัย
6.1.1 การวิจัยพื้นฐานหรือการวิขัยบริสุทธิ์ เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ในการแสวงหาความรู้ความจริงเชิงทฤษฎี/ปรากฏการณ์
6.1.2 การวิจัยการนำไปใช้ การนำผลการวิจัยจากการวิจัยพื้นฐานมาใช้ประโยชน์ต่อการดำเนินการดำรงของมนุษย์ได้ในปัจจุบัน ตัดสินใจ
6.6 จำแนกประเภทการวิจัยตามเป้าหมายหลักของการวิจัย
6.6.1 การวิจัยที่มุ่งบรรยายตัวแปร เป็นการวิจัยที่มีจุดมุ่งหมายสำคัญเพื่อบรรยายลักษณะของตัวแปรในประชากร
6.6.2 การวิจัยที่มุ่งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร เป็นการวิจัยเพื่อค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวหรือมากกว่า
6.6.3 การวิจัยที่มุ่งแสวงหาความเป็นเหตุผลระหว่างตัวแปร เป้นการวิจัยที่แสวงหาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปรากฏการณืต่างๆ
6.7 ประเภทของการิจัยจำแนกตามการกระจัดกระทำ
6.7.2 การวิจัยกึ่งทดลอง เป็นการวิจัยที่ไม่สามารถดำเนินการในกระบวนการวิจัยได้อย่างครบถ้วน
6.7.3 การวิจัยแบบทดลองที่แทม้จริง เป้นการวิจัย ที่ใช้ตรวจสอบความเป็นเหตุเป็นผลระหว่างตัวแปร
6.7.1 การวิจัยแบบทดลองเบื้องต้น เป้นการวจัยที่ศึกษาปรากฏการณ์ที่เป็นธรรมชาติ โดยไม่มีการจัดทำสิ่งทดลอง
ตัวแปรและสมมติฐาน
การนิยามตัวแปแรและการหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริง
3.1 การหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริง
3.2 การนิยามตัวแปร
การนิยามในลักษณะของการบอกองค์ประกอบ เป็นการอธิบายตัวแปรนั้นหมายถึงอะไร มีองค์ประกอบอะไรบ้าง
นิยามในลักษณะปฏิบัติการ เป็นการอธิบายตัวแปรนั้นหมายถึงอะไร
สมมติฐาน
ลักษณะและชนิดของตัวแปร
ตัวแปรอิสระ
ตัวแปรตาม
แปรแทรกซ้อนหรืออาจจะเรียกว่าตัวแปรเกิน
ตัวแปรสอดแทรก
แหล่งที่มาของสมมติฐาน
6.1 การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
6.2 การสนทนากับผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้นๆ
6.3 ประสบการณ์เบื้องต้นของผู้วิจัย
6.4 การได้ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับปัญยหาที่จะศึกษากับบุคคลอื่นๆ
6.5 การสังเกตพฤติกรรม สังเกตุความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ
ความหมายของตัวแปร
หมายถึง คุณสมบัติหรือคุณลักษณะ หรือ ปรากกการณ์ของสิ่งต่างๆ ที่ผู้วิจัยต้องการศึกษาหาความจริง
ประเภทของสมมติฐาน
5.1 สมมติฐานทางวิจัย อยู่ในรูปของข้อความที่ใช้ภาษาเป็นสื่อในการอธิบาย
สมมติฐานแบบมีทิศทาง
สมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง
ลักษณะของสสมติฐาน
7.4 สอดคล้องกับสภาพที่เป็นจริง
7.5 ต้องสมเหตุผลตามทฤษฎีและความรู้ที่ได้จากการศึกษา้อกสารที่เกี่ยวข้อง
.3 ตอบคำถามเพียงข้อเดียวหรือประเด็นเดียว
7.6 เขียนด้วยถ้อยคำที่อ่านเข้าใจง่ายและมีความชัดเจนภายในตัวเอง
7.2 อธิบายหรือตอบคำถามได้
7.7 สามามรถตรวจสอบได้
7.1 สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการวิจัย
7.8 มีขอบเขตพอเหมาะไม่แคบหรือกว้างเกินไป
7.9 มีอำนาจในการพยากรณ์
จรรยาบรรณของนักวิจัย
หมายถึง หลักความประพฤติอันเหมาะสม แสดงถึงคุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบอาชีะ ที่กลุ่มบุคคลแต่ละสาขาวิชาชีพประมวลขึ้นไว้เป็นหลักเพื่อให้สมาชิกในสาขาวิชาชีพนั้นๆ ยึดถือปฏิบัติเพื่อรักษาชื่อเสียงและส่งเสริมเกียรติคุณของสาขาวิชาชีพของตนจรรยาบรรณในการวิจัย
คุณลักษณะของการวิจัย
เป็นวิธีการ ๆ หนึ่งที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ความจริง
การเขียนคำถามวิจัย
เป็นจุดเริ่มต้นในการทำวิจัยที่มีความสำคัญ ช่วยเป็นแนวทางในการทำวิจัย