Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาติดเชื้อ การเสียสมดุลน้ำ เกลือแร่…
-
-
-
Skin
Steven-Johnson syndromes
-
การรักษา
- Wet dressing ด้วยด่างทับทิมและทา silver
- เช็ดปากด้วย NSS 2 ครั้ง/วัน
- ล้างตา 3 ครั้ง/วัน
- ดูแลความสะอาดร่างกายป้องกันการติดเชื้อ
Herpes zoster
-
การรักษา
- Acyclovir ร่วมกับ steroid(หายเร็วขึ้น)
- ประคบแผลด้วยน้ำเกลืออุ่นๆ
- สมุนไพร (พญายอ ชองระอา เสลดพังพอน บดนำน้ำมาทาแผล)
Cellulitis
การรักษา
- ATB
- ยกบริเวณที่เป็นให้สูงลดบวม
- ทำแผล
-
Fungal infection
tenia versicolor
-
การรักษา
- ยาทา/สบู่ยาอาบน้ำ(Sastid selsun)
- Ketoconazole ฟอกไว้สักครู่แล้วล้างออก
Tenia
-
การรักษา
- ครีมรักษาเชื้อรา (Whitfeild's ขี้ผึ้ง)
- เชื้อราที่เล็บศีรษะ>> Griseofulvin
- หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่เหงื่ออก
Psoriasis
-
การรักษา
- Tars(เป็นน้อย)
- ให้ยา steroid (ทา/โลชั่น)
- อาบแดด(10.00-14.00น.)
- สระผมด้วยแชมพูมีส่วนผสมน้ำมันดิน
Herpes simplex
-
การรักษา
- Acyclovir
- ดื่มน้ำบ่อยๆ บ้วนปากด้วยNSS
- ประคบแผลด้วยน้ำเกลืออุ่นๆ
- อวัยวะเพศ แช่น้ำอุ่น ใส่ถุงยาเมื่อมีเพศสัมพันธ์
-
Infection
Sepsis
-
อาการ
- P >90 bpm
- R >20 bpm/PaO2 < 32 mmHg
- T > 38 Cหรือ < 36 C
- WBC 4,000 หรือ >12,000
ภาวะแทรกซ้อน
- DIC เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดเล็กที่อยู่ทั่วตามร่างกาย
- ต่อมหมวกไตล้มเหลว
- ภาวะหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน(ARDS) ไม่ได้รับออกซิเจนไปหล่อเลี้ยงปอดอย่างเพียงพอ
-
การพยาบาล
- ล้างมือก่อนหลังสัมผัสผู้ป่วย
- หลีกเลี่ยงสถานที่แออัด
- งดสูบบุหรี่เลี่ยงใช้สารเสพติด
- รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ออกกำลังกายเป็นประจำ
Hepatitis
การรักษา
- รักษาตามอาการ
- ดูแลตนเอง(พักผ่อน อาหารอ่อน ไขมันน้อย คาร์โบไฮเดรตสูง)
Type
A,E ติดต่อทางอาหาร
ฺB,C,D ติดต่อทางเลือด
Malaria
อาการ
ไข้สูงเป็นเวลา หนาวสั่น ตัวตาเหลือง ตับโตม้ามโต ปวดท้องกดเจ็บ
ไตวายได้ Thick film+ve *อาจขึ้นสมอง
การรักษา
- ให้ยา Quinine, Chloroquine
- รักษาตามอาการ(IV ลดไข้ แก้N/V)
Melioidosis
อาการ
ไข้นาน ไอ ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร หายใจหอบเหนื่อย เจ็บหน้าอกผิวหนังเจ็บ บวม มีแผลเปื่อยสีขาวเทาและเป็นหนองเชื้อแพร่กระจายจากผิวหนังผ่านเลือดไปสู่อวัยวะอื่นจนติดเชื้อเรื้อรัง
การรักษา
- ATB (Tetracyclin)
- รักษาตามอาการ(IV ลดไข้ ลดปวด)
- ผ่าหนองออก
Leptospirosis
-
การรักษา
- ATB (Penicilin,Doxycycline ทานหลังอาหารทันที)
- รักษาตามอาการ(IV ลดไข้ แก้E'lyte)
-
burn
-
Degree burn
- 1st >>ถึงชั้นหนังกำพร้า แดงๆแสบๆ ไม่มีตุ่ม
- 2nd>>ถึงชั้นหนังแท้ ตุ่มน้ำ แสบร้อนมาก
- 3rd>>ถึงกระดูก ลึก ไม่รู้สึก
การรักษา
- Obs.hypovolemic shock ให้ IV
- Obs.infection, Air way
-
-
Perioperative
Anesthesia
-
Nerve block
ฉีดยารอบๆกลุ่มประสาทที่ไปเลี้ยงที่บริเวณผ่าตัด
การผ่าตัดบริเวณลำคอ แขน และมือ Brachial plexus block
Epidural block
ฉีดยาในชั้นเยื่อหุ้มไขสันหลัง
ผ่าตัดส่วนล่างของร่างกาย บริเวณอุ้งเชิงการและขาทั้งสองข้าง
-
General anesthesia
ทำให้หมดความรู้สึกทั่วร่างกาย
S/E กดการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ กดการหายใจและกดreflexการไอ
Post-oprative car
- การจัดท่านอน
- v/s q 15 min 4 times 30 min 2 times 1 hr. จนกว่าจะstable
- กระตุ้นทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเอง
- สังเกตลักษณแผลผ่าตัด
- ดูแลให้ได้รับสารน้ำ ยา ตามแผนการรักษา
- บรรเทาความเจ็บปวด
Pre-operative car
- เตรียมผิวหนังบริเวณผ่าตัด
- NPO 6-8 hrก่อนผ่าตัด
- เตรียมลำไส้และสวนอุจจาระ
- ตรวจสอบเครื่องประดับของมีค่าและอวัยวะปลอม
- ตรวจสอบการเซ็นยินยอมการผ่าตัด
- เตรียมเครื่องมือที่จะต้องนำไปที่ห้องผ่าตัดติดตัวผู้ป่วย
- ถ่ายปัสสาวะก่อนไปห้องผ่าตัด
- ให้รับยาก่อนไปห้องผ่าตัดตามแผนการรักษา
- เตรียมรับผู้ป่วยหลังผ่าตัด
-
lmmune
Hypersensitivity
-
ระดับความรุนแรงตามเกณฑ์ของ NCI
- Grade1 หน้าแดง (Flushing),มีผื่น (Rash), มีไข้(Drug fever) <38°C
- Grade2หน้าแดง (Flushing),ผื่นลมพิษ (Urticarial),หายใจลำบาก(dypnea)
- Grade3หลอดลมหด,บวม(edema/angioedema),ความดันต่ำ(Hypotension)
- Grade4 อาการหายใจลำบาก ไม่มีแรง ชีพจรเต้นถี่และเบา มีอาการสับสน มึนงง หรือหมดสติ
- Grade5 ตาย
Allergy
-
การพยาบาล
- เลี่ยงสิ่งกระตุ้น/ปัจจัยที่ทำให้แพ้
- การดูแลในภาวะฉุกเฉิน
จัดท่านอนศีรษะสูง
ให้ออกซิเจน
ให้ยาขยายหลอดลม/ยาต้านhistamine
ในรายที่รุนแรง ให้ Adrenaline IM
-
Autoimmune
SLE
อาการ
Butterfly rash,Photosensitivity,ANA +ve
แผลในปาก ข้ออักเสบ ซีด ภูมิคุ้มกันผิดปกติ
การรักษา
- steroid(Prednisolone) เมือไตอักเสบ, NSAIDs ลกการอักเสบ
- ยา Chloroquine รักษาอาการทางผิวหนัง Obs.ตาบอด
- ครีมกันแดด/กางร่ม
- สวมหมวกปีกกว้าง
- ไม่สวมเสื้อแขนยาว>>ร้อน เหงื่อออก
Rheumatoid
อาการ
อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย เบื่ออาหาร ปวดบวมตามข้อขนาดเล็กๆ เช่น
ข้อนิ้วมือ ฝ่ามือ ข้อนิ้วเท้า ฝ่าเท้า มีปุ่มเนื้อRheumatoid nodules
การรักษา
- ยาลดการอักเสบ NSAIDs, Steroid
- ยาDMARs ช่วยควบคุมไม่ให้เกิดอาการจากการอักเสบ
- ผ่าตัด
lmmune deficiency
AIDS
อาการ
-
-
ELISA +ve, Western blot +ve*
การรักษา
- ให้ยารักษาทุกระดับ CD4
- ถ้าให้ยาหลายชนิด ต้องมาตรวจเพื่อปรับระดับยาตามนัด
- CD4<200 ให้แยกห้องเพราะติดเชื้อฉวยโอกาสง่าย เช่น TB
-