Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
6.การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาขับถ่าย ปัสสาวะในระยะเฉียบพลัน วิกฤต…
-
Nephro
Non infection
ESRD
ความหมาย
เป็นภาวะที่ไตมีความผิดปกติมีการสูญเสียหน่วยไตไปมากกว่าครึ่งหนึ่งของที่มีอยู่ตามปกติในการขจัดของเสีย การรักษาความสมดุลของน้ำ สารอิเลคโตรลัยท์และกรด-ด่าง
-
การรักษา
จำกัดน้ำ (Fiuid restriction) จำกัดเมื่อไม่สามารถขับปัสสาวะได้ ในPt ที่ไม่มีปัสสาวะควรได้รับน้ำวันละ 300 มล.
อาหาร ผู้ป่วยควรได้รับพลังงาน 2,000-2,500 แคลอรี่ ถ้ามีภาวะติดเชื้ออาจให้ถึง 3,000-3,500 แคลอรี่ หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารกระป๋อง ของหมักดอง อาหารทะเล อาหารปรุงแต่ง อาหารที่ต้องจำกัด คือ โปแตสเซียม ได้แก่ ผลไม้ กล้วย ส้ม มะเขือ
ยา
-
-
-
-
-
-
ยาแก้ไขภาวะโปแตสเซียมสูง
ให้ cation-exchange เช่นเคเอกษเลท ให้ทางปากหรือทางทวารหนัก จะมีการเปลี่ยนกับโซเดียมแล้วโปตัสเซียมจะถูกขับออกมากับอุจจาระ
-
-
-
CKD
-
-
-
การรักษา
-
-
-
-
ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต
ลดน้ำหนัก,หยุดสูบบุหรี่,ออกกำลังกาย,งดอาหารรสเค็ม
AKI
-
-
การรักษา
-
จำกัดโปแตสเซียมออกจากร่างกายโยการให้ Kayexalate ร่วมกับ Sorbitol เพื่อช่วยขับโปแตสเซียมออกทางอุจจาระ
ให้ Regular insulin + 50% Glucose ทาง IV ซึ่ง Insulin จะพา Glucose เช้าเซลล์และนำK+ ในเลือดได้อย่างรวดเร็ว
-
ความหมาย
เป็นภาวะที่ไตสูญเสียหน้าที่อย่างทันทีทันใด มีอัตราการกรองลดลงในระยะเวลาอันสั้น 1 ชั่วโมง ถึง 3 วัน มีผลทำให้เกิดของเสียคั่งในเลือด
ขับปัสสาวะออกน้อยกว่า 400 มล/วัน เรียกว่า ภาวะปัสสาวะน้อย และหากปัสสาวะออกน้อยกว่า 100 มล/วัน เรียกว่า ไม่มีปัสสสาวะ
Infection
-
Pyelonephritis
-
สาเหตุ
กรวยไตอักเสบมักเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย (E. Coli) ซึ่งเกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น การอักเสบต่อเนื่องของกระเพาะปัสสาวะหรือท่อปัสสาวะ การอุดตันของทางเดินปัสสาวะ บางกรณีเชื้อแบคทีเรียอาจแพร่กระจายเข้าสู่กรวยไตผ่านทางกระแสเลือดได้ โดยเฉพาะผู้ที่ติดเชื้อในข้อเทียมหรือลิ้นหัวใจเทียม
-
ปัจจัยเสี่ยง
ผู้ที่ตั้งครรภ์ เพราะมีระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนเพิ่มขึ้น และความดันท่อไตสูงขึ้น หรือกรวยไตอาจอุดตันจากการถูกมดลูกกดเบียด ทำให้เสี่ยงติดเชื้อแบคทีเรียมากขึ้น
-
-
ผู้ที่ติดเชื้อแบคทีเรียในกระดูก ผิวหนัง หรือเนื้อเยื่ออื่น ๆ แล้วเชื้อโรคแพร่กระจายเข้าสู่กรวยไต หรือเกิดการติดเชื้อในกระแสเลือด
การรักษา
อาการไม่รุนแรงการรักษาประคับประคองไปตามอาการร่วมกับให้รับประทานยาปฏิชีวนะ เช่น Amoxicillin , Co-trimoxazole , Ofloxacin , Ciprofloxacin
-
-
Uro
Non infection
CA bladder
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะเป็นเลือด,ปัสสาวะแสบขัด,เจ็บอุ้งเชิงกราน,ปัสสาวะไม่ออก,ปวดหลัง เป็นต้น
ชนิด
1.Transition cell carcinoma พบส่วนใหญ่ 95%เป็นมะเร็งชนิดนี
- Squamous cell carcinoma ร่วมกับภาวะมีการอักเสบเรื้อรังร่วมกับการมีนิ่ว
- Adenocarcinoma ตําแหน่งที่พบบ่อยคือ ส่วนด้านหน้าหรือส่วนยอดของกระเพาะ
ปัสสาวะร่วมกับremnant of urechus
4.Small cell carcinoma เป็นชนิดที่พบได้น้อยกว่า 1% โดยเกิดจากเซลล์ที่เรียกว่า Neuroendocrine cells
5.Sarcomas เป็นชนิดที่พบได้น้อยมาก โดยเกิดในเซลล์กล้ามเนื้อของกระเพาะปัสสาวะ
ปัจจัยเสี่ยง
1.การสูบบุหรี่ 2.เพศ เพศชายเป็นมากกว่าเพศหญิง 3.อายุมากกว่า 40 ปี 4.คนทํางานอยู่ในโรงงานทําสี หรืออาชีพที่ต้องใช้สารเคมี 5. Chronic bladder irritation and infections 6. Chemotherapy 7. Low fluid consumption 8.พันธุกรรม
มี 4 ระยะ
-
-
ระยะที่ 3 มะเร็งมีการลุกลามไปถึงชั้นไขมันที่บุอยู่รอบนอกกระเพาะปัสสาวะ (Fat around the bladder) และอาจแพร่กระจายไปยังต่อมลูกหมาก และ/หรือต่อมสร้างน้ำเลี้ยงอสุจิของผู้ชาย (Seminal vesicles) หรือมดลูก และ/หรือช่องคลอดของผู้หญิง
-
การรักษา
1.การผ่าตัดโดยการส่องกล้องผ่านทางท่อปัสสาวะเพื่อตัดชิ้นเนื้องอกของกระเพาะปัสสาวะออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ (Transurethral resection of bladder tumor - TURBT)
2.การผ่าตัดกระเพาะปัสสาวะออกบางส่วน (Partial cystectomy หรือ Segmental cystectomy) มักทำในกรณีที่มะเร็งยังไม่ลุกลามถึงชั้นกล้ามเนื้อของกระเพาะปัสสาวะ
3.การผ่าตัดกระเพาะปัสสาวะออกทั้งหมด (Radical cystectomy) รวมทั้งท่อไตส่วนปลาย ต่อมน้ำเหลืองข้างเคียงในอุ้งเชิงกราน
-
-
-
-
Neurogenic bladder
หมายถึง ภาวะผิดปกติในการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะ ที่เกิดจากความบกพร่องของการทำงานของระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง ทำให้ไม่สามารถปัสสาวะได้ปกติ
-
-
Infection
-
UTI
การรักษา
- ATB (Norfloxacine)
- ดื่มน้ำมากๆ
- ไม่กลั้นปัสสาวะ
- รักษาความสะอาด
-
-