Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการถ่ายภาพ (ประวัติความเป็ นมาของการถ่ายภาพ…
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการถ่ายภาพ
ประวัติความเป็ นมาของการถ่ายภาพ
การถ่ายภาพได้มีการพัฒนามาหลายร้อยปี ก่อนที่จะมีกลอ้งถ่ายภาพเพื่อการบันทึกภาพใหเ้หมือนจริงน้นัมนุษย์ในสมัยโบราณได้ใช้วิธีการวาดภาพเพื่อบันทึกความทรงจ าและใช้ในการสื่อความหมาย
ซื่งการวาดภาพน้นัตอ้งใชเวลานานและไดภ้าพที่ไม่เหมือนจริงทา ให้มนุษย์คิดค้นหาวิธีการสร้างภาพโดยใช้เวลาน้อยลงและให้ได้ภาพเหมือนจริงจนในที่สุดในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ
การถ่ายภาพมีวิวฒันาการมาจากศาสตร์ 2 สาขาคือ สาขาฟิสิกส์ได้แก่เรื่องของแสงและกลอ้งถ่ายภาพและสาขาเคมีในส่วนที่เกี่ยวกับฟิลม์ สารไวแสงและน้า ยาสร้างภาพ โดยในคร้ังแรกสุดเริ่มจากสาขาฟิสิกส์ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อ 400 ปีก่อนคริสต์ศักราช
จากหลักฐานที่ อริสโตเติส บันทึกไวว้า่“ถ้าเราปล่อยให้แสงผ่านเข้าไปทางช่องเล็กๆในห้องมืดแล้วถือกระดาษขาวให้ห่างจากช่องรับแสงประมาณ 15 ซม. จะปรากฏภาพบนกระดาษมีลักษณะเป็นภาพจริงหัวกลับ แต่เป็นภาพที่ไม่ชัดเจนนัก”(สมาน เฉตระการ.การถ่ายภาพเบื้องต้น , 2548)
ค.ศ. 1550-1573
ได้มีการพัฒนากล้องออบสคิวรา ได้สร้างเลนส์นูนและนา ไปใส่ไวใ้นช่องรับแสงของกลอ้ง ปรากฏว่าได้ภาพที่สว่างขึ้นแต่ภาพยังไม่คมชัด ต่อมาได้ประดิษฐ์ ม่านบังคับ ช่องรับแสง เพิ่มเติมในกลอ้งถ่ายภาพว่า ภาพที่ช้ดขึ้นก่วาเดิมและใช้กระจกเว้าเพื่อช่วยในการมองเห็นภาพใหเ้ห็นเป็นภาพหัวตั้ง
ค.ศ. 1676
โยฮานน์ สเตอร์ม(Johann Sturm) ประดิษฐก์ลอ้งรีเฟลกซ์เป็นกลอ้งแรกของโลก โดยใชก้ระจกเงาวางต้งั
ให้ได้มุม 45 องศาเพื่อรับแสงแลว้สะทอ้นเขา้ฉากรับภาพ ซึ้งจะไดภ้าพหวัต้งัสะดวกต่อการมองภาพของผู้ถ้าย
ค.ศ. 1727-1777
ช่วงนี้ถือว่า เป็นจุดเริ่มตน้ของสารเคมีโดย โยฮัน เฮนริช ชุลตช์(Johann Heinrich Schulze)ชาวเยอรมนั พบว่า สารผสมของชอลก์กับ เกลือเงินไนเตรทเมื่อถูกแสงแล้วจะทา ให้เกิดภาพสีดำ และนักเคมีชาวสวีเดน พบว่า แสงสีน้า เงินและสีของ Positive มีผลทำให้เกลือเงินไนเตรทและเกลือเงินคลอไรด์เปลี่ยนเป็นสีดำ ได้มากกว่า แสงสีแดง
ค.ศ. 1826
โจเซฟ เนียพฟอร์เนียพซ์(Joseph Nicephore Niepce)ชาวฝรั่งเศส ไดใ้ชแ้ผน่ ดีบุกผสมตะกวั่ ฉาบดว้ยสารไวแสงบีทูเมนซ่ึงมีสีขาว(White Bitumen) ใส่เขา้ในกล้องออบสคิวราถ่ายภาพทิวทศัน์จากหนา้ต่างบา้นของเขาที่เมืองแกรส (Grass)โดยใช้เวลานานถึง 8 ชวั่ โมงเมื่อนา แผน่ ดีบุกผสมตะกวั่ ฉาบสารบีทูเมน ล้างดว้ยส่วนผสมของน้า มนัจากตน้ลาเวนเดอร์(Lavender)กบัWhite Petroleum แล้วทา ใหส้ ่วนที่ถูกแสงที่เป็นส่วนของPositiveแข็งตัว ส่วนสารบีทูเมนที่ไม่ถูกแสงจะถูกชะลา้งละลายออกไปหมดเหลือแต่ส่วนผวิของแผน่ ดีบุกผสมตะกวั่ ซึ่งจะมีด า เนียพซ์ต้งัชื่อกระบวนการถ่ายภาพน้ีวา่ เฮลิโอกราฟ (Heliograph) มีความหมายวา่ “ภาพที่วาดโดยดวงอาทิตย์”ถือไดว้า่ ภาพถ่ายของเขาเป็ นภาพถ่าย Positive ที่ถาวรภาพแรกของโลกแต่กระบวนการถ่ายภาพโดยใชส้ ารบีทูเมนน้นั ยงัไม่เป็นที่แพร่หลายเนื่องจากสารบีทูเมนมีความไวแสงต ่า ภาพที่ไดม้ีคุณภาพยงัไม่ดีพออยา่ งไรกต็ามวิธีการน้ีนบัไดว้า่ เป็นผลงานตน้แบบที่นกัวิทยาศาสตร์รุ่นหลงั ๆ ไดน้ า แนวคิดมาพฒั นาต่อไป
ค.ศ. 1837
หลุยส์จาคเคอร์แมนเดดาแกร์(Louis Jacque Mande Daguerre) จิตรกรชาวฝรั่งเศสซ่ึงเคยเขา้ร่วมสญั ญาดา เนินกิจการกบั เนียพซ์และหลงัจากเนียพซ์ถึงแก่กรรม เขาประสบความสา เร็จในการคิดกระบวนการสร้างภาพที่เรียกวา่ ดาแกร์โอไทป์(Daguerreotype) เป็นการทา ใหเ้กิดภาพในกลอ้งดว้ยปฏิกิริยาของแสงโดยใช้สารที่มีความไวแสงในการบันทึกภาพกระบวนการสร้างภาพระบบดาแกร์โอไทป์มีจุดเด่น คือระบบการถ่ายภาพจะใชแ้ผน่ โลหะเช่น แผน่ทองแดงหรือแผน่ เงินฉาบน้า ยาไวแสงเมื่อนา ไปถ่ายภาพโดยทา ปฏิกิริยากบัแสงที่พอเหมาะแลว้ ผา่ นกระบวนการสร้างภาพและคงภาพตามล าดับ จะได้ภาพที่ละเอียด คมชัดลักษณะของภาพจะกลับซ้ายเป็ นขวาเหมือนภาพที่มองผา่ นกระจกเงาถ่ายภาพคร้ังแรกไดเ้พียงหน่ึงภาพ นา ไปอดัขยายซ้า หลาย ๆ ภาพไม่ได้ในระยะแรก ๆ ผเู้ป็นแบบถ่ายตอ้งนงั่ นิ่ง ๆ นานถึงคร่ึงชวั่ โมง เพราะความไวของแสงของน้า ยายงัต่า มากในระยะหลัง ๆ ได้พัฒนาให้มีความไวแสงสูงข้ึนตามลา ดบั การสร้างภาพระบบดาแกร์โอไทป์ถือไดว้า่ เป็นกระบวนการสร้างภาพสมยัใหม่ที่ยา่ งเขา้สู่การถ่ายภาพยคุ ปัจจุบน
ค.ศ. 1841
วิลเลียม เฮนรี่ ทัลบอท (William Henry Talbot) ได้พัฒนาระบบที่ชื่อ Calotype โดยสร้างภาพจากการบันทึกให้เป็ นภาพกลับสี (Negative Image ขณะน้นั ยงัเป็นภาพสีขาวกบั ดา อย่จากน้นั นา ภาพที่ไดม้าทา การสา เนาไดเ้ป็นภาพสีเหมือน (Positive Image) ซ่ึงวิธีการน้ีสามารถท าส าเนาจากภาพต้นฉบับไดห้ลาย ๆ ชุด ท้งันาย Daguerre และนาย Talbot ต่างกใ็ชก้ลอ้งออบสคิวราแบบติดเลนส์ด้านหน้าซึ่งสามารถเลื่อนปรับระยะได้เพื่อหาระยะชัดของภาพ ส่วนแผน่ รับภาพจะติดไวด้า้นหลงัที่
ค.ศ. 1871
Richard Leach Maddoxไดค้ิดคน้แผน่ รับภาพแบบแหง้โดยใชส้ ารเจลาตินซ่ึงมีชื่อเรียกระบบน้ีวา่ ระบบ Gelatin Dry Plate SilverBromide แผน่ รับภาพชนิดน้ีทา ใหช้่างถ่ายภาพไม่จา เป็นตอ้งชะโลมดว้ยน้า ยาเคมีเพื่อทา การลา้งภาพทนั ทีหลงัจากบนั ทึกภาพเสร็จเหมือนกรรมวิธีในระบบก่อนหนา้น้ีในช่วงทา้ยของทศวรรษ 1870 ความเร็วในการบันทึกภาพเหลือเพียง 1 ใน 25 วินาที
ค.ศ. 1880
George Eastmanไดก้่อต้งับริษทั Eastman dry plate สี่ปีใหห้ ลงัทางบริษทัไดป้ระดิษฐแ์ผน่ รับภาพทา จากกระดาษทา ใหโ้คง้งอไดเ้ป็นที่มาของคา วา่ "ฟิ ล์มถ่ายภาพ (Photographic Film)"
ค.ศ. 1913
Oskar Barnackจากสถาบัน Ernst Leitz Optishe Werke ได้มีการประดิษฐ์ต้นแบบ กล้อง 35 มม. และผลิตออกจา หน่ายในปี ค.ศ. 1925 ใชช้ื่อกลอ้งวา่ "Leica I" กล้อง 35 มม.ได้เป็ นที่นิยมเพราะขนาดกระทัดรัด และฟิ ล์มที่ใช้ได้รับการพัฒนาใหม้ีคุณภาพสูงข้ึนเรื่อย ๆ เป็นผลใหผ้ผู้ลิตกลอ้งต่างกล็งมาแข่งขนั ในตลาดน้ี