Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มที่ 1 ใบงานที่ 1 Heart Disease
หญิงมีครรภ์ อายุ 18 ปี
G1 P0000 GA…
กลุ่มที่ 1 ใบงานที่ 1 Heart Disease
หญิงมีครรภ์ อายุ 18 ปี
G1 P0000 GA 16 wks
คำแนะนำที่ควรให้แก่สตรีมีครรภ์ : :
ในระยะการตั้งครรภ์
- อธิบายเกี่ยวกับโรค พยาธิสภาพ ภาวะแทรกซ้อน การรักษา และการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์
- แนะนำให้นับลูกดิ้น ตรวจสุขภาพทารกในครรภ์
- อธิบายให้เห็นความสำคัญของการมาฝากครรภ์และมาตรวจตามนัดทุกครั้ง
- แนะนำให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ นอนกลางคืนอย่างน้อย 8-10 ชั่วโมง และช่วงกลางวันวันละ 1-2 ชั่วโมงหรือ นอนพักครึ่งชั่วโมงหลังมื้ออาหารทุกมื้อโดยนอนท่าศีรษะสูง หลีกเลี่ยงการนอนราบเพราะทำให้หัวใจทำงานหนักขึ้น และหลีกเลี่ยงความเครียด
- ให้ลดการออกกำลังกายที่รุนแรง เช่น บาสเก็ตบอล มวย เทควันโด เป็นต้น
- แนะนำให้ลดอาการเค็มแต่ไม่จำกัดเกลือ หลีกเลี่ยงอาหารจำพวกไขมัน แป้ง แนะนำให้ทานอาหารที่มีกากใยสูง เพื่อป้องกันอาการท้องผูก และดูแลให้ได้รับธาตุเหล็กอย่างเพียงพอเพื่อป้องการภาวะซีด
- แนะนำให้งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ งดสูบบุหรี่ และสารเสพติดทุกชนิด เป็นต้น
- แนะนำให้สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะหัวใจล้มเหลว เช่น หายใจหอบเหนื่อย เจ็บแน่นหน้าอก ชีพจรเร็ว ไอเป็นเลือด บวม เป็นต้น
- แนะนำให้ดูแลรักษาความสะอาดร่างกาย ไม่กลั้นปัสสาวะเพื่อป้องกันการติดเชื้อในร่างกายและ หลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่ที่แออัด เพื่อป้องกันการติดเชื้อทางเดินหายใจ
- แนะนำเรื่องการมีเพศสัมพันธ์สตรีมีครรภ์ใน class I class II
Mitral Regurgitation
อาการและอาการแสดง
-
-
-
-
-
-
-
-
- ระยะเฉียบพลัน : หอบเหนื่อยซึ่งจะค่อยๆเป็นแบบช้าๆ และรุนแรงเพิ่มขึ้น
- ระยเรื้อรัง : อ่อนเพลีย หอบเหนื่อยขณะออกกำลัง และอาจมีหัวใจด้านขวาล้มเลว จะพบหลอดเลือดดำที่คอบวม ตับโต บางรายใจสั่น ไอเป็นเลือด หายใจลำบากเป็นพักๆ
มีความผิดปกติของลิ้นหัวใจที่กั้นระหว่างหัวใจห้องบนและล่างซ้าย จนทำให้เลือดไหลย้อนกลับไปที่หัวใจห้องบนหลังจากสูบฉีดเลือด
สาเหตุ
- เอ็นยึดลิ้นหัวใจฉีกขาด
- มีการติดเชื้อที่ลิ้นหัวใจและผนังหัวใจ
- มีแผ่นลิ้นหัวใจ 1หรือ2แผ่น แข็งและหดตัวสั้นลง
พยาธิสภาพในสตรีตั้งครรภ์
- ขณะตั้งครรภ์ปริมาณblood volumeจะเพิ่มขึ้น
และจะคงที่เมื่อ GA 30-32wks.
- Blood volume เพิ่มขึ้นร้อยละ 45-50
- Cardiac output เพิ่มขึ้นร้อยละ 43
- Heart rate เพิ่มขึ้นร้อยละ 20
-
-
-
-
ความรุนแรงของโรคหัวใจ
-
Class II ความสามารถในการทำกิจกรรมลดลง รู้สึกสบายดีขณะพัก หากทำงานปกติจะรู้สึกเหนื่อย ใจสั่น หายใจลำบากหรือเจ็บหน้าอก
Class III ขณะพักรู้สึกสบายดี แต่จะเหนื่อยมากเมื่อทำงานเล็กน้อย หรือปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน เช่น แปรงฟัน เดินเข้าห้องน้ำ
-
-
-
:red_flag:
-
-
-