Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความเป็นครู คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ ค่านิยม วินัย …
ความเป็นครู
คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ ค่านิยม
วินัย และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
คุณธรรม
ความหมาย
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 กล่าวว่าคุณธรรมเป็นสภาพคุณงามความดี คุณธรรมเป็นลักษณะที่ดีงามหรือพฤติกรรมที่ปฏิบัติจนเป็นนิสัย และการทีบุคคลได้กระทำตามความคิดและมาตรฐานของสังคมในทางความประพฤติและจริยธรรม
ความสำคัญ
คุณธรรมเป็นเสมือนหลักการสำคัญที่บุคคลหรือสังคมนำไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตจะช่วยให้บุคคลปฏิบัติงานได้อย่างราบรื่น มีความสำเร็จที่ทำเป็นอย่างดีของครอบครัว สังคม และประเทศชาติสำหรับครูกับคุณธรรมนั้นเป็นของคู่กัน หากครูขาดคุณธรรมเมื่อใดก็เหมือนนักบวชที่ไร้ศีลธรรม
ธรรมสำหรับครู
อริยธรรม คุณธรรมแห่งการประพฤติปฏิบัติ
การเห็นชอบ
การพูดจาชอบ
การทำการงานชอบ
การเลี้ยงชีพชอบ
การเพียรชอบ
การระลึกชอบ
ความตั้งใจมันชอบ
การดำริชอบ
อิทธิบาท มีธรรมแห่งการทำให้งานสำเร็จ
1.ฉันทะ
2.วิริยะ
3.จิตตะ
4.วิมังสา
ฆราวาสธรรม ธรรมแห่งการครองเรือนและการครองชีวิตครู
ความจริง ความซื่อสัตย์ และจริงใจ ต่อตนเอง ผู้อื่น หน้าที่การงาน และประเทศชาติ
จรรยาบรรณของวิชาชีพ การข่มใจ ฝึกนิสัย รู้จักควบคุมจิตใจ แก้ไขข้อบกพร่อง และปรับปรุงตัวให้เจริญก้าวหน้าด้วยสติปัญญา
ความอดทน ตั้งหน้าทำหน้าที่การงานด้วยความขยันหมั่นเพียร
ความเสียสละ รู้จักให้ ละกิเลส ใจกว้าง รับฟังความคิดเห็น ช่วยเหลือเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา คือคุณธรรมประจำใจ ธรรมที่ค้ำจุนโลก
เช่น เมตตา แสดงความรักใคร่ปรารถนาดีอยากให้เขามีความสุข มีจิตใจที่ดีงาม มีความกรุณา ชื่นชมยินดี วางตัววางใจเป็นกลาง
สังคหวัตถุ ธรรมแห่งการยึดเหนี่ยวและประสานสามัคคี
ทาน
ปิยวาจา
อัตถจริยา
สมานัตตตา
การพัฒนาคุณธรรมของครู
การสร้างความเป็นธรรมกับผู้เรียน
การทีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
การหลีกเลี่ยงไม่ลงมัวเมาอบายมุข
การมีความอดทน อดกลั้น ขยัน ประหยัด และรู้จักการให้อภัย
การตรงต่อเวลาในกาปฏิบัติงาน
การมีความเสียสละและเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม
การเห็นคุณค่าในความสามารถของผู้เรียน
การประพฤติตนเป็นแบบอย่าง
การมีเจตคติที่ดีรักและศรัทธาอาชีพครู
การสร้างความรักและเป็นกัลยาณมิตรกับผู้เรียน
แนวทางการส่งเสริมคุณธรรมสำหรับ
การเลียนแบบจากตัวแบบที่ดี
การรวมพลังกลุ่ม
การเพิ่มสมรรถนะภาพ
จรรยาบรรณวิชาชีพ
ความหมายของจรรยาบรรณวิชาชีพ
จรรยาบรรณวิชาชีพครูหมายถึงมาตรฐานการปฏิบัติตนตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ พ. ศ. 2548 และ จรรยาบรรณของครูตั้งเป็นความประพฤติหรือกระหรือยาอาการที่ผู้ประกอบวิชาชีพครูควรประพฤติปฏิบัติเพื่อให้เกิดความดีงามขึ้นแก่ตนเองและวิชาชีพครูตามมาตรฐานวิชาชีพครู
ความสำคัญของจรรยาบรรณวิชาชีพ
เป็นแนวทางให้ผู้ประกอบวิชาชีพยึดถือปฏิบัติอย่างถูกต้อง
เพื่อให้วิชาชีพคงฐานะได้รับการยอมรับและการยกย่องจากสังคม
เพื่อผดุงเกียรติยศและศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ
ลักษณะของจรรยาบรรณวิชาชีพ
ความรักความศรัทธาในอาชีพ
ความซื่อสัตย์สุจริต
การให้ความเคารพต่อกฎระเบียบข้อบังคับหรือจรรยาบรรณในอาชีพ
ยกย่องให้เกียรติร่วมวิชาชีพ
การรวมกลุ่มเพื่อสร้างความมั่นคงในวิชาชีพ
การพัฒนาปฏิบัติตนให้อยู่ในจรรยาบรรณวิชาชีพ
ครูควรมีความประพฤติปฏิบัติต่อวิชาชีพ
ครูควรมีความประพฤติปฏิบัติต่อผู้เรียน
ครูควรมีความประพฤติปฏิบัติต่อตนเอง
ครูควรมีความประพฤติปฏิบัติต่อสังคม
จรรยาบรรณต่อตนเอง
ประพฤติตนเหมาะสมกับสถานภาพและเป็นแบบแบบอย่างที่ดี
ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีในการดำเนินชีวิตตามประเพณีและวัฒนธรรมไทย
ปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายสำเร็จอย่างมีคุณภาพตามเป้าหมายที่กำหนด
ศึกษาหาความรู้วางแผนพัฒนาตนเองพัฒนางานและสะสมผลงานอย่างสม่ำเสมอ
ค้นคว้าแสวงหาและนำเทคนิคด้านวิชาชีพที่พัฒนาและก้าวหน้าเป็นที่ยอมรับมาใช้แก่สิทธิ์และผู้บริการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่พึงประสงค์
ความประพฤติปฏิบัติต่อวิชาชีพ5ประการ
ศรัทธาต่อวิชาชีพ
ธำรงและป้องปกป้องวิชาชีพ
พัฒนาองค์ความรู้ในวิชาชีพ
สร้างองค์กรวิชาชีพให้แข็งแรงรวม
ร่วมมือในกิจกรรมขององค์กรวิชาชีพ
จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องรักเมตตาเอาใจใส่ช่วยเหลือส่งเสริมให้กำลังใจแก่สิทธิ์และผู้รับบริการตามบทบาทหน้าที่โดยเสมอหน้า
ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ทักษะและนิสัยที่ถูกต้องดีงามแก่สิทธิ์และผู้รับบริการตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ
ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมศึกษาต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีทั้งกายวาจาและจิตใจ
ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกายสติปัญญาจิตใจอารมณ์และสังคมของสิทธิ์และผู้รับบริการ
ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาคโดยไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตำแหน่งหน้าที่โดยไม่ชอบ
จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
เสียสละเอื้ออาทรและให้ความช่วยเหลือผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
มีความรักความสามัคคีและร่วมใจกันผนึกกำลังในการพัฒนาการศึกษา
จรรยาบรรณต่อต่อสังคม
ยึดมั่นสนับสนุนและส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขทรงเป็นประมุข
นำภูมิปัญญาท้องถิ่นและศิลปวัฒนธรรมเป็นปัจจัยในการจัดการศึกษาให้เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม
จัดกิจกรรมส่งเสริมให้สิทธิ์เกิดการเรียนรู้และสามารถดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
เป็นผู้นำในการวางแผนและดำเนินการเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและพัฒนาเศรษฐกิจภูมิปัญญาท้องถิ่นและศิลปวัฒนธรรม
ความประพฤติปฏิบัติต่อผู้เรียน 9 ประการ
ตั้งใจถ่ายทอดวิชาการ
รักและเข้าใจสิทธิ์
ส่งเสริมการเรียนรู้
ยุติธรรม
ไม่แสวงหาประโยชน์จากผู้เรียน
ทำตนเป็นแบบอย่างที่ดี
ให้เกียรติผู้เรียน
อบรมบ่มนิสัย
ช่วยเหลือศิษย์
พฤติกรรมปฏิบัติต่อตนเอง 7 ประการ
ประพฤติชอบ
รับผิดชอบ
มีเหตุผล
ใฝ่รู้
รอบคอบ
ฝึกจิต
สนใจศิษย์
ความประพฤติปฏิบัติต่อสังคม 9 ประการ
ครูต้องรักและเมตตาศิษย์
ครูต้องอบรมสั่งสอนฝึกฝนสร้างเสริมความรู้ทักษะและนิสัย
ครูต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ทั้งกายวาจาและจิตใจ
ครูต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย
ครูต้องไม่แสวงหาประโยชน์อันเป็นอามิสสินจ้างจากศิษย์
ครูย่อมพัฒนาตนเองทั้งด้านวิชาชีพ
ครูย่อมรักและศรัทธาในวิชาชีพครู
ครูพึงช่วยเหลือเกื้อกูล เพื่อนครู
ครูพึงประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นำ
จรรยาบรรต่อวิชาชีพ
แสดงความชื่นชมในคุณค่าของวิชาชีพ
รักษาชื่อเสียงและปกป้องศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ
ยกย่องและเชิดชูเกียรติผู้มีผลงานในวิชาชีพให้สาธารณะชนรับรู้
อุทิศตนเพื่อความก้าวหน้าของวิชาชีพ
ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบซื่อสัตย์สุจริตตามกฎระเบียบและแบบแผนของทางราชการ
เลือกใช้หลักวิชาที่ถูกต้องสร้างสรรค์เทคนิควิธีการใหม่ใหม่เพื่อพัฒนาวิชาชีพ
ใช้องค์ความรู้ความหลากหลายในการปฏิบัติหน้าที่อันแรกเปลี่ยนเรียนรู้กับสมาชิกในองค์กร
วินัย
ความหมาย
ระเบียบแบบแผน และข้อบังคับ ข้อปฏิบัติ
ความสำคัญของวินัยที่มีต่อการศึกษา
ถ้าครูมีวินัยความมีวินัยของครูจะส่งผลไปถึงนักเรียนด้วย
แนวคิดในการสร้างวินัยสำหรับครู
ฉันทนา ภาคบงกฎ และคณะ, 2539
ส่งเสริมวินัยจากเรื่องที่ง่ายในชีวิตประจำวัน
การลดการชี้แนะบังคับสั่งสอนและอบรม
รณรงค์ให้มีการส่งเสริมวินัยในด้านต่างๆอย่างจริงจังโดยใช้สื่อต่างๆถ่ายทอดผ่านสื่อมวลชนบุคคลทุกฝ่ายไม่ว่าจะเป็นบิดามารดาครูอาจารย์เจ้านายต้องทำเป็นตัวอย่างที่ดีในเรื่องความมีวินัย
สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันการเมือง และการปกครองสื่อมวลชนองค์กรอิสระควรมีส่วนในในการกำหนดวินัยอย่างจริงจังและดำเนินการทันที
การกำหนดวินัยควรปรับให้ทันสมัยสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและเป็นนำมาทำและคำนึงถึงรากฐานของความเป็นไทย
นำผลการวิจัยมาช่วยในการสร้างเสริมสร้างวินัย
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 เป็นแนวคิดสำคัญที่สุดในการสอนคนซึ่งนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับโดยเน้นการปฏิบัติบนสายทางสายกลางและการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอนซึ่งคำนิยามความพอเพียงจะต้องประกอบด้วยสามคุณลักษณะคือความพอประมาณความมีเหตุผลการมีผมคนคุ้มกันที่ดีในตัว
การศึกษากับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สามารถนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเชื่อมโยงกับการจัดการศึกษาในระดับกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในระดับปฐมวัยระดับประถมศึกษาระดับมัธยมศึกษาระดับอาชีวศึกษาและระดับอุดมศึกษา
การจัดการเรียนรู้กับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การระดมความคิดเห็นเรื่องการปรับปรุงหลักสูตรและระบบการเรียนการสอนตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง
การจัดการเรียนการสอนและการสร้างองค์ความรู้ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การจัดนิทรรศการสาธิตและยกตัวอย่างของความสำเร็จตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาอาชีพสร้างรายได้เสริมได้ประยุกต์ใช้ทรัพยากรท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์สูงสุด
การจัดการและการจัดระบบองค์กรความร่วมมือทางการเงินการผลิตการตลาด
การอนุเคราะห์เกื้อกูลช่วยเหลือคนยากจนผู้ได้โอกาสการ
สร้างจิตรสำนึกรักท้องถิ่นรักชุมชน
การจัดทำแผนการเรียนรู้เน้นคุณธรรม 8 ประการ
การสร้างจิตสำนึกพลเมืองที่ดี รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
ค่านิยม
ความหมาย
พฤติกรรมและสิ่งอื่นที่คนในสังคมเห็นว่ามีคุณค่าจึงยอมรับมาปฏิบัติตามและห่วงแหงไว้ระยะเวลาหนึ่งค่านิยมมักเปลี่ยนแปลงไปตามกาลสมัยและความคิดเห็นของคนในสังคม (ก่อ สวัสดิพาณิชย์,2519 : 46)
คุณลักษณะ
ความคิดและประสบประการณ์
การอบรมสั่งสอน
การชักชวนจากบุคคลอื่น
การศึกษาเล่าเรียน
การปลูกฝังอุดมการณ์
การเห็นตามกัน
การใช้กฎข้อบังคับ
ความนิยมตามยุคตามสมัย
ความเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
ประเภทของค่านิยม
ค่านิยมทางวัตถุ
ค่านิยมทางสังคม
ค่านิยมทางความจริง
ค่านิยมทางจริยธรรม
ค่านิยมทางสุนทรียภาพ
ค่านิยมทางศาสนา
ความสำคัญของค่านิยมของครู
คือนิยมที่นักปราชญ์หรือบัณฑิตและสังคมส่วนใหญ่นิยมยกย่องว่าดีหากนำมาประพฤติปฏิบัติแล้วจะนำความเจริญก้าวหน้ามาสู่ตนเองและชาติบ้านเมือง
การพัฒนาค่านิยมของครู
การทำให้เจริญขึ้นการทำให้เกิดความเจริญงอกงามแก่คนโดยมีลักษณะที่มีความเจริญงอกงามมาจากภายในการทำความเชื่อมั่นในใจคุณค่าของความเป็นครูให้ดีขึ้น
แนวทางการส่งเสริมค่านิยมในวิชาชีพครูการ
ตระหนักในค่านิยมของความเป็นครู
ปัจจัยแวดล้อมสร้างค่านิยม
จริยธรรม
ความหมาย
ธรรมที่เป็นข้้อปฏิบัติ ศีลธรรม กฏศีลธรรม
หลักจริยธรรมสำหรับครู
ความรับผิดชอบ
ความซื่อสัตย์
ความมีเหตุผล
ความกตัญญูกตเวที
ความมีระเบียบวินัย
ความเสียสละ
การประหยัด
ความอุตสาหะ
ความสามัคคี
ความเมตตาและกรุณา
ความยุติธรรม
การพัฒนาจริยธรรมของครู
ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมอย่างตรงไปตรงมาและไม่กระทำการเลี่ยงประมวลจริยธรรม
การวิเคราะห์ตนเอง
การรับฟังความคิดเห็นเชิงวิพากษ์
วิเคราะห์ตนเอง
ค้นคว้าความรู้จากแหล่งความรู้ต่างๆ
เข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาจิตใจ
การฝึกตน
การฝึกวินัยขั้นพื้นฐาน
การรักษาศีลตามความเชื่อในศาสนาของตนเอง
การทำสมาธิฝึกตั้งมั่นของจิตใจ
ฝึกการเป็นผู้ให้
แนวทางส่งเสริมจริยธรรมสำหรับครูตามมาตรฐานทางจริยธรรมและประมวลจริยธรรม
ก.ค.ศ. ประกอบด้วย 2 ส่วน
ส่วนที่.1 มาตรฐานคุณธรรมและอุดมการณ์ของครู
ครูพึงยึดถือคุณธรรมและอุดมการณ์
1.การรักษาความสัจความจริงใจต่อตนเองที่จะประพฤติปฏิบัติแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์และเป็นธรรม
2.รู้จักข่มใจตนเอง
3.อดทน อดกลั้น และอดออม
4.รู้จักละวางความชั่ว ความทุจริต รู้จักสละประโยชน์ส่วนน้อยเพื่อส่วนรวม
ครูพึงยึดถืออุดมคติของครู
1.เคารพและเอื้อเฟื้อต่อหน้าที่
2.มีความเมตตากรุณาปราณีต่อผู้เรียน
3.เสียสละอดออม
4.บำเพ็ญตนอยู่ในความดี
5.ทำหน้าที่ให้บริสุทธิ์ยุติธรรม
6.ชี้นำศิษย์ให้มีคุณธรรม
7.กระทำการด้วยปัญญา
8.ไม่ประมาทในชีวิต
9.ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ส่วนที่ 2. มาตรฐานของครู
1.ครูต้องยึดมั่นในคุณธรรมจริยธรรม
1.อบรมสั่งสอนศิษย์ด้วยจิตเมตตา
2.ละเว้นกิจกรรมที่ผิดกฎหมาย
2.ครูพึงยึดถืออุดมคติของครู
1.มีติตวิญญาณของความเป็นครู เสียสละ และอุทิศตนเต็มกำลังสติปัญญา
2.กระทำการทั้งปวงด้วยความสุจริต
3.รับผิดชอบต่อหน้า เอื้อเฟื้อ
4.ไม่ใช้ตำแหน่ง หรือให้ผู้อื่นใช้ตำแหน่ง
5.ไม่ใช่ตำแหน่งหรือให้ผู้อื่นใช้อำนาจตำแหน่งจูงใจไปในทางทุจริต
6.ไม่ใช้เวลางาน ทรัพย์สิน บุคลากร เพื่อประโยชน์ส่วนตัวหรือผู้อื่น
3.ครูต้องยึดถือประโยชน์ของประเทศชาติเหนือกว่าประโยชน์ส่วนตน
4.ครูต้องยืนหยัดอย่างมั่นคงในสิ่งที่ถูกต้องเป็นธรรมและถูกฏหมาย
5ครูต้อวปฏิบัติหน้าที่และให้บริการแก่ผู้เรียนและผู้ปกครองด้วยความรวดเร็ว
6ครูต้องให้ข้อมูลข่าวสารแก่ผู้เรียนและผู้ปกครองอย่างครบถ้วนถูกต้อง
7.ครูต้องมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษามาตรฐาน มีคุณภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้
8.ครูต้องยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
9ครูต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในการวางตนและยึดมั่นในหลักจรรยาบรรณวิชาชีพครู
10.ปฏิบัติตนในฐานะครู