Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีที่มีภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากการตั้งครรภ์ (Hyperemesis…
การพยาบาลสตรีที่มีภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากการตั้งครรภ์
Hyperemesis glavidarum
สาเหตุ
ฮอร์โมน เช่น Estrogen , HCG สูง
ด้านจิตใจ เช่น Ambivalance การปรับตัวที่เปลี่ยนแปลงไป
ไม่รุนแรง
อาเจียน 5 ครั้ง/วัน
อาเจียนไม่มีน้ำ/เศษอาหาร
BWลดเล็กน้อย ไม่ขาดสารอาหาร
สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
การพยาบาล
ให้รับประทาน ได้แก่ น้ำผลไม้ น้ำหวาน อาหาร K สูง ได้แก่ กล้วยหอม แคนตาลูป แอปเปิ้ล ผักใบเขียว อาหาร Mg สูง ได้แก่ ผักทุกชนิด และถั่วชนิดต่างๆ
รุนแรง
อาเจียน 5-10 ครั้ง/วัน
อาเจียนติดต่อกัน 2-4 wks
BWลด ขาดสารอาหาร
ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
มีภาวะเลือดเป็นกรด
การพยาบาล
ยาแก้อาเจียน Dramamine , Compazine , Diazepam ให้รับประทาน เช่นเดียวกับ ระยะที่มีอาการไม่รุนแรง
รุนแรงมาก
อาเจียน >10 ครั้ง/วัน
อาเจียนติดต่อ >4 wks อาเจียนทันทีหลังรับประทาน
BWลดมาก อ่อนเพลีย ขาดสารอาหารรุนแรง
ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวัน
การพยาบาล
NPO จนกว่าจะดีขึ้น IV เพื่อแก้ไขภาวะขาดสารน้ำ PNT(>2,000 kcal/day) ให้ทาง Central venous access หรือ Subclavian vein
Pregnancy Induce Hypertention
BP สูง
GA<20 wks
+ ไม่มี Proteinuria
Chronic hypertensive
พบ Proteinuria ภายหลัง
Superimposed
Pre-eclampsia/eclampsia
GA>20 wks
ไม่มี Proteinuria + ไม่บวม
Gestational Hypertension
Proteinuria > 300 mg หรือ Dipstick > 1+
Pre-eclampsia
Mild Pre-eclampsia
BP 140/90 mmHg
Proteinuria 1+ , 2+
Pitting edema
Severe Pre-eclampsia
BP 160/110 mmHg
Proteinuria 3+ , 4+
Pulmonary edema
ชัก
Serum Cr สูง
ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว จุกแน่นลิ้นปี่
การรักษา
จัดท่านอนท่าตะแคง
ควบคุมอาหารให้เค็มปานกลางและโปรตีนให้ได้รับ 80-100 gm/day
ดูแลให้ได้รับยาต้านการชัก
ให้ 10% MgSO4
หากมีอาการผิดปกติดังนี้
ไม่มี Deep tendon reflex
RR<14ครั้ง/นาที
Urine Output <30ml/hr หรือ <100ml/4hr
ให้เตรียม 10%calcium gluconate
ยาลดความดันโลหิต ได้แก่ ยาในกลุ่ม Hydralazin เพื่อส่งเสริมการไหลเวียนของไต จะใช้ในกรณีที่ BP >160/110 mmHg
Hydramnios/Oligohydramnios
Oligohydramnios น้ำคร่ำน้อย
AFI < 5
SDP < 3 cm
ผลต่อทารก
กดเบียดทารก เกิด Potter sequence คือ
ปอดแฟบ จมูกแบน คางเล็ก ข้อสะโพกเคลื่อน
clubfoot ขาดO2และสายสะดือถูกกด
อัตราการตายสูงทั้งในครรภ์/แรกคลอด
ผลต่อมารดา
Preterm , PIH
การรักษา
Amnioinfusion
เติมน้ำคร่ำ หยุดทำเมื่อปริมาณน้ำคร่ำกลับมาปกติ
ดื่มน้ำมากๆ ทำให้เพิ่มขึ้นเล็กน้อย
การให้สารขับปัสสาวะ
Hydramnios
น้ำคร่ำมาก
อาการ
หายใจลำบาก เหนื่อย นอนราบไม่ได้
ต้องนอนหนุนหมอนหลายใบ หรืออยู่ในท่า upright
AFI > 5
SDP > 8 cm
ผลต่อทารก
ส่วนนำของทารกที่ผิดปกติ เช่น ท่าก้น ท่าขวา
อัตราตายปริกำเนิด จะเพิ่มขึ้น 2-5 เท่า
ผลต่อมารดา
หายใจลำบาก, Preterm, PROM
Cord prolapse, Abruptio, placenta, PIH, UTI
การรักษา
GA < 32 wks
Amnioreduction
เอาออกครั้งละ 1,500-2,000 ml ไม่เกิน 5 ลิตร/ครั้ง
หยุดทำเมื่อปริมาณน้ำคร่ำกลับมาปกติ+indomethacin
ในการควบคุมไม่ให้น้ำคร่ำกลับขึ้นมาเยอะ
GA > 32 wks
Amnioreduction
ห้าม :
indomethacin เพื่อป้องกัน
การตีบแคบของ ductus arteriosus
Twins
Monozygotic twins : แฝดแท้
เกิดจากการปฏิสนธิของไข่ใบเดียว และการแบ่งตัวของไข่ที่เกิดขึ้นในระยะเวลาที่แตกต่างกัน
หน้าตา รูปร่าง เพศ เหมือนกัน
Dizygotic twins : แฝดเทียม
เกิดจากการปฏิสนธิของไข่ 2 ใบ
อาจมีเพศ รูปร่างหน้าตา เหมือนหรือแตกต่างกันก็ได้
การพยาบาล
คนแรกท่าศีรษะ
คนแรกคลอด
รีบclamp cord+
ทำเครื่องหมาย
ประเมินท่า/FHSคนที่สอง
คนแรกท่าก้น คนที่สองท่าศีรษะ
C/S
ภาวะแทรกซ้อน
1.Twin to twin transfusion syndrome (TTTs)
มีเลือดวิ่งถ่ายเทระหว่างเด็กในครรภ์ด้วยกัน โดยคนหนึ่งให้อีกคนมารับ เป็นภาวะที่เส้นเลือดมาต่อกัน
2.ซีด ต้องได้รับธาตุเหล็กเพิ่ม
3.ความดันโลหิตสูง PIH
4.เจ็บครรภ์ก่อนกำหนด