Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 12 จิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร…
หน่วยที่ 12 จิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิด/ทฤษฎีทางจิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมฯ
ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม
ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาที่เกี่ยวข้อง
ความสำคัญของจิตวิทยา
ดังนี้
รู้จัก เข้าใจ ยอมรับตนเอง
รู้จัก เข้าใจ ยอมรับผู้อื่น
แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสม
ประโยชน์ของจิตวิทยา
ต่อ
ตนเอง
สังคม
ด้านอื่นๆ
ความเกี่ยวกับมนุษยสัมพันธ์ในการส่งเสริมฯ
ความสำคัญของมนุษยสัมพันธ์
เช่น
การดำเนินชีวิตครอบครัว
การดำรงชีวิตในสังคม
การดำเนินชีวิตในองค์กร
เศรษฐกิจ
การเมือง/ปกครอง
การเรียนรู้
ประโยชน์ของมนุษยสัมพันธ์
เข้าใจธรรมชาติ
เข้าใจความต้องการผู้อื่น
เกิดความร่วมมือ
เกิดความราบรื่นในการคบค้าสมาคม
กระตุ้นให้บุคคลมีจิตใจดี มีเมตตา
ลดความขัดเเย้ง
ชีวิตมีความสุข
เกิดความสามัคคี
เกิดกำลังใจทำงาน
ช่วยพัฒนาประเทศ
จิตวิทยาที่เกี่ยวกับการรับรู้ การเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมฯ
แนวคิดจิตวิทยาที่เกี่ยวกับการรับรู้
องค์ประกอบการรับรู้
ดังนี้
สิ่งเร้า/สถานการณ์
สิ่งเร้าภายใน
สิ่งเร้าภายนอก
ประสาทสัมผัส
ประสบการณ์
การแปลความหมาย
กระบวนการรับรู้
ขั้นที่ 1สิ่งเร้ามากระทบประสาท
ขั้นที่ 2 กระเเสประสาททำงาน
ขั้นที่3 สมองแปลความหมาย
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้
ดังนี้
สิ่งเร้า
ผู้รับรู้
สถานการณ์ที่รับรู้
สถานการณ์ปัจจุบันที่มีผลต่อการรับรู้
แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้
ลักษณะที่สำคัญเกี่ยวกับการเรียนรู้
ดังนี้
เรียนรู้เป็น
กระบวนการ
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
สิ่งที่ช่วยปรับปรุงตนเอง
เพิ่มประสิทธิภาพ
อาศัยวุฒิภาวะเป็นตัวประกอบ
องค์ประกอบของการเรียนรู้
ดังนี้
เเรงขับ
สิ่งเร้า
การตอบสนอง
การเสริมเเรง
ทฤษฎีเรียนรู้ที่สำคัญ
การเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ดังนี้
ทฤษฎีการเชื่อมโยง
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
แบบ
การกระทำ
คลาสสิค
การเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม
ดังนี้
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์
ทฤษฎีการพัฒนาทางสติปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบ
ทฤษฎีการเรียนรู้ 8 ขั้นตอน
ทฤษฎีประมวลสาระสนเทศ
การเรียนรู้กลุ่มปัญญาสังคม
ดังนี้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของมาสโลว์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของโรเจอร์ส
ทฤษฎีการเรียนรู้ของโคมส์
ทฤษำีการเรียนรู้ของโนลส์
ทฤษำีการเรียนรู้ของแฟร์
การเรียนรู้กลุ่มสร้างสรรค์ทางปัญญานิยม
ดังนี้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ใหม่
ทฤษฎีจูงใจที่สำคัญ
ดังนี้
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ
ทฤษฎีสอง 2ปัจจัยของเฮิร์ซเบิร์ก
ทฤษฎีความต้องการ
ทฤษฎี X และ Y
ทฤษฎีสื่อสารที่สำคัญ
ดังนี้
ทฤษฎีการสื่อสาร SMCR
ทฤษฎีการสื่อสารทางเดียวเชิงเส้นตรง
ทฤษฎีการสื่อสารของชเเรมม์
ทฤษฎีเกี่ยวกับทัศนคติ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีสิ่งล่อใจ
ทฤษฎีความสอดคล้องกัน
ทฤษฎีความขัดเเย้ง
ทฤษำีการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ
ทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส่วนร่วม
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับมนุษยสัมพันธ์ในการส่งเสริมฯ
ดังนี้
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีความต้องการของมนุษย์
ทฤษฎี 2 ปัจจัยของเฮร์ซเบิร์ก
การประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีทางจิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์ไปใช้ในการส่งเสริมฯ
การประยุกต์หลักจิตวิทยาไปใช้ในการส่งเสริมฯ
เป้าหมายในการใช้จิตวิทยา
เพื่อ
ส่งเสริมบรรยากาศที่ดีีีระหว่างนักส่งเสริมและเกษตรกร
เป็นกำลังใจให้เกษตรกร
แสดงความพึงพอใจในตัวเกษตรกร
ให้การชมเชยแก่เกษตรกร
หลักการใช้จิตวิทยา
เข้าใจการเปลี่ยนแปลง
ให้ความสำคัญกับประสบการณ์
คำนึงถึงความพร้อม
ตระหนักถึงจุดมุ่งหมาย
เข้าใจหลักการทำงานรายบุคคล
เข้าใจหลักการทำงานรายกลุ่ม
เข้าใจหลักการทำงานแบบมวลชน
การประยุกต์ใช้จิตวิทยาที่เกี่ยวกับการรับรู้และเรียนรู้ไปใช้ในการส่งเสริมฯ
การรับรู้
ส่งเสริมให้เกิดการรวมกลุ่มโดยคำนึงถึงกฎการรับรู้
การสร้างความประทับใจระหว่างบุคคลตั้งแต่ครั้งแรกที่พบ
การผลิตและใช้สื่อคำนึงถึงสิ่งเร้า
การดำเนินงานส่งเสริมการเกษตรคำนึงถึงบุคคลเป้าหมาย
สนับสนุนการตัดสินใจ
การเรียนรู้
ความพร้อมในการเรียนรู้
ความแตกต่างระหว่างบุคคลและวิธีการ
การมีส่วนร่วม
การกำหนดวัตถุประสงค์
การจัดระบบเนื้อหา
การกระทำผ่านประสาทสัมผัส
การประยุกต์ใช้จิตวิทยาที่เกี่ยวกับการจูงใจ การสื่อสาร และทัศนคติไปใช้ในการส่งเสริมฯ
การจูงใจ
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
แนวโน้มพฤฤติกรรม
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
การสื่อสาร
ขั้นความรู้
ขั้นการชักชวน
ขั้นการตัดสินใจ
ขั้นการนำไปปฎิบัติ
ขั้นการยืนยันและการตัดสินใจ
ทัศนคติ
การเปลี่ยนทัศนคติต่อตนเอง
การสร้างหรือเปลี่ยนทัศนคติที่ดีในการส่งเสริมฯ
การสร้างมนุษยสัมพันธ์ในการส่งเสริมการเกษตร
ความสำคัญ
ดังนี้
ทำให้นักส่งเสริมเข้าใจตนเองและผู้อื่น
ได้รับความร่วมร่วมจากบุคคลากรในหน่วยงานต่างๆ
ทำให้เกิดการพัฒนา
ประโยชน์ของการสร้างมนุษยสัมพันธ์
ดังนี้
เข้ากับคนอื่นได้ดี
เป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดความสำเร็จ
เชื่อมโยงบุคลากรทุกฝ่าย
ทำให้สังคมมีคุณภาพ
การสร้างมนุษยสัมพันธ์ในองค์การ
ดังนี้
กับเพื่อนร่วมงาน
กับผู้บังคับบัญชา/ใต้บังคับบัญชา
การสร้างมนุษยสัมพันธ์กับบุคคลนอกองค์การ
แนวทางการสร้างมนุษยสัมพันธ์ในการส่งเสริมฯ
ดังนี้
การสนใจในตัวบุคคลอื่น
ยิ้มเเย้มแจ่มใส
จำชื่อบุคคลต่างๆ
เป็นผู้ฟังที่ดี
พูดในเรื่องที่ผู้ฟังสนใจ
ยกย่องผู้อื่น
ถ่อมตน
เข้าใจความรู้สึกผู้ฟัง
มีใจยุติิธรรม