Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติด้านจิตใจในระยะหลังคลอด (ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด Postpartum…
ความผิดปกติด้านจิตใจในระยะหลังคลอด
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด Postpartum depression
สาเหตุ
ความตึงเครียดทางจิตใจ :การตั้งครรภ์ที่ไม่พึงปรารถนา ปัญหาในชีวิตสมรส ไม่ได้รับความเห็นอกเห็นใจ ไม่ได้รับความเห็นอกเห็นใจและ วิตกกังวลต่อการเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์
ความตึงเครียดทางสังคม : มารดาวัยรุ่นที่ต้องพึ่งพาบิดามารดาเศรษฐานะความยากจน
ความตึงเครียดทางร่างกาย : การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย การเปลี่ยนแปลงของต่อมไร้ท่อ ระดับฮอร์โมน ประสบการณ์ของการคลอดไม่ดี
ความผิดปกติด้านอารมณ์ความคิดและการรับรู้ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายและพฤติกรรมที่เริ่มอาการตั้งแต่ ๔ สัปดาห์ถึง ๑ ปีหลังคลอด
อาการและอาการแสดง
นอนไม่หลับหรือนอนมากกว่าปกติ
เบื่ออาหารน้ำหนักลดลงหรือกินจุน้ำหนักเพิ่มขึ้น
อ่อนเพลียไม่มีแรง
รู้สึกตนเองไร้ค่าหรือรู้สึกผิดอย่างไม่สมเหตุสมผล
อาจมีความคิดในการฆ่าตัวตายหรือทำร้ายบุตร
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อมารดาหลังคลอด ได้แก่ สูญเสียสมรรถภาพทางร่างกายจากการพักผ่อนไม่เพียงพอ ความเหนื่อยล้าเซื่องซึม ทำให้ไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้
ผลกระทบต่อครอบครัว ได้แก่ การติดต่อสื่อสารภายในครอบครัวไม่มีประสิทธิภาพ
ผลกระทบต่อบุตร ได้แก่ มารดาหลังคลอดไม่สามารถแสดงบทบาทการเป็นมารดาได้ดี ปฏิเสธและไม่สนใจบุตร
ภาวะโรคจิตหลังคลอด Postpartum psychosis
สาเหตุ
มีประวัติไบโพลาร์
มารดาหลังคลอดที่มีลักษณะบุคลิกภาพแปรปรวนเช่นเก็บตัวย้ำคิดย้ำทำเป็นต้น
เคยมีประวัติเป็นโรคจิตหลังคลอด
มีความเครียดในระยะความเครียดในระยะตั้งครรภ์
ประวัติบุคคลในครอบครัวป่วยด้วยโรคไบโพลาร์
อาการแสดง
อาการนำ : มักเป็นในระยะ ๒-๓ วันแรกหลังคลอดมารดาจะมีอาการไม่สุขสบายนำมาก่อนอาการที่พบบ่อยคือนอนไม่หลับฝันร้ายบคลิกภาพเปลี่ยนแปลงขาดความสนใจต่อสิ่งแวดล้อมรอบตัว
อาการโรคจิต : จากระยะแรกมารดาหลัง คลอดจะมีอาการโรคจิตหรือวิกลจริตร่วมกับความผิดปกติของอารมณ์
มารดาหลังคลอดเกิดความวิกลจริตร่วมกับความผิดปกติด้านอารมณ์ซึ่งมารดาจะมีอาการของโรคไบโพลาร์และมีอาการโรคจิตเภทโดยมักเริ่มเกิดอาการใน ๒ – ๓ วันแรกหลังคลอด
ผลกระทบ
ขาดความสนใจทางเพศอาจเป็นสาเหตุของการหย่าร้างและชีวิตสมรสแตกแยกได้
รู้สึกว่าตนมีความผิดที่มีอารมณ์เศร้าในช่วงเวลาซึ่งควรมีความสุข
สูญเสียสมรรถภาพทางร่างกายจากความผิดปกติเกี่ยวกับการนอนและน้ำหนักที่ลดลงอย่างรวดเร็ว
อาจฆ่าบุตรได้
การรักษา
รักษาทางจิตโดยใช้จิตบำบัด (psychotherapy)
จิตบำบัดรายบุคคล (individual therapy)จิตบำบัดกลุ่ม (group therapy) การบำบัดทางปัญญา (Cognitive behavior therapy)
จิตบำบัดครอบครัว (family therapy) หรือจิตบำบัดระหว่างคู่สมรส (marital therapy) หรือสุขภาพจิตศึกษา (psychoeducation)
การรักษาทางกาย
การให้ยาต้านโรคจิต (antipsychotic drug) ในกลุ่ม atypical antipsychotic
ในรายที่มีอาการซึมเศร้าหลังคลอดกลุ่มยาที่เลือกใช้เป็นอันดับแรกคือ serotonin reuptake inhibitor โดยการให้ยาแก้ซึมเศร้า (antidepressant)
การให้ยาควบคุมอารมณ์ (mood stabilizer)
การช็อคไฟฟ้า (EC) ในรายที่มีอาการรุนแรงหรือใช้ยารักษาไม่ได้ผล
การรักษาโดยการแก้ไขสิ่งแวดล้อม(environment therapy)