Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทและหน้าที่ของพยาบาลอนามัยชุมชน (บทบาทของพยาบาลชุมชน (2…
บทบาทและหน้าที่ของพยาบาลอนามัยชุมชน
บทบาทของพยาบาลชุมชน
1.บทบาทผู้ให้บริการดูแลสุขภาพ
บริบทของชุมชนการให้บริการดูแลสุขภาพ
และการรักษาพยาบาลของพยาบาลชุมชน
มี 3 ระดับ คือ
ระดับทุติยภูมิ
เป็นรูปแบบการให้บริการสุขภาพของพยาบาลที่ปฏิบัติงานอยู่ฝ่ายส่งเสริมสุขภาพกลุ่มงานเวชกรรมสังคมที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชน
การป้องกันโรคของโรงพยาบาลชุมชนบริการต่างๆ
ที่จัดให้โรงพยาบาลชุมชน
เป็นบริการที่จัดให้แก่บุคคลครอบครัวและกลุ่ม
คนที่มารับบริการในคลินิกส่งเสริมสุขภาพ
ระดับตติยภูมิ
เป็นรูปแบบการให้บริการพยาบาลในโรงพยาบาล
ศูนย์หรือโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
โดยมากเป็นการให้บริการของพยาบาลที่ปฏิบัติ
งานอยู่ในโรงพยาบาล
การขยายฐานการดูแลผู้รับบริการของโรงพยาบาล
ที่ไปสูชุมชน
ระดับปฐมภูมิ
การสร้างเสริม ป้องกันการเจ็บป่วยและอันตราย
จากการประกอบอาชีพการตรวจรักษาโรคเบื้องตน
การส่งต่อ เพื่อการดูแลที่เหมาะสมกรณีโรคความซับซ้อน ฉุกเฉิน
การฟื้นฟูสุขภาพเข้าด้วยกันทำให้บริการ
เป็นไปอย่างต่อเนื่อง ครบวงจรและเป็นองค์รวม
ตัวอย่าง
การส่งเสริมการออกกำลังกายของกลุ่มต่างๆ ในชุมชน
การฟื้นฟูสุขภาพผู้เป็นอัมพาตที่บ้าน
การดูแลหญิงตั้งครรภ์
3.บทบทผู้พิทักษ์สิทธิ์
ผู้รับบริการทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับความคุ้มครอง
และพิทักษสิทธิ์ในการดูแลการพยาบาล
พยาบาลต้องเป็นตัวกลางในการให้ข้อมูลรักษาสิทธิ์
และผลประโยชน์ตลอดจนช่วยให้ประชาชนเลือก
ใช้บริการที่เหมาะสมกับภาวะสุขภาพ
2.บทบาทผู้ให้ความรู้ด้านสุขภาพ
การให้ความรูเป็นบทบาทที่สำคัญและได้รับการยอมรับ
ว่าเป็นส่วนหนึ่งของปฏิบัติการพยาบาลชุมชน
การให้ความรู้แก่ผู้รับบริการในระดับต่างๆ มีประโยชน์
โดยตรงต่อการสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันโรคและการบาดเจ็บ
การดูแลสุขภาพของตนเองทั้งในภาวะปกติ
และเจ็บป่วย
การให้ความรู้แต่ละครั้งต้องเข้าใจปัจจัย
ที่ส่งเสริมบรรยากาศให้ผู้รับบริการเกิดความรู้
ตัวอย่าง
การให้ความรู้โทษของการสูบบุหรี่ต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
การให้ความรู้ไม่ได้เจาะจงเฉพาะกลุ่มบุคคลที่สูบบุหรี่
แต่กระจายไปสู่บุคคลทั่วไป
4.บทบาทผู้จัดการรายกรณี
จัดให้ครอบคลุมบริการที่ลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน
การฟื้นฟูสุขภาพของผู้รับบริการเมื่อผู้รับบริการเกิดปัญหา
จัดให้ได้รับการรักษาเฉพาะโรคอย่างต่อเนื่อง
5.บทบาทผู้ประสานความร่วมมือ
งานของพยาบาลชุมชนมักต้องทำงานร่วมกับบุคคลกรต่างๆ หลากหลายวิชาชีพ/อาชีพ
พยาบาลชุมชนจำเป็นต้องมีการประสาน
ความร่วมมือบุคลากรในฝ่ายต่างๆ
6.บทบาทผู้นำ
เป้าหมายของพยาบาลชุมชน คือ
การส่งเสริมให้ประชาชนมีพลานามัยสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ พยาบาลจึงมีการพัฒนาปรับปรุงบริการให้เหมาะสมกับวิถีชีวิต
บริบทและเทคโนโลยี
พยาบาลชุมชนมีบทบาทการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง
มีความกล้าในการคิดบูรณาการสร้างสรรนวัตกรรมใหม่ๆ
สู่การดูแลสุขภาพที่ดี
7.บทบาทผู้วิจัย
การศึกษาวิจัยเป็นหนทางหนึ่งที่ทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ๆ
ที่ช่วยในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
เป็นปฏิบัติการที่เข้าไปมีส่วนร่วมในการสืบประเด็น
ปัญหาอย่างเป็นระบบ เป็นจุดเริ่มต้นของการแตกหน่อความคิด
เป็นปฏิบัติการที่เข้าไปมีส่วนร่วมในการประเมินและสืบสวนประเด็น
ปัญหาที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพการประเมิน
เป็นการนำไปสู่การวิจัย ความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้นจะช่วยให้พยาบาลชุมชนมีความเข้าใจในสัมพันธภาพของปัจจัยต่าง ๆ
หน้าที่ของพยาบาลอนามัยชุมชน
ด้านวิชาการ
ศึกษาและจัดทำคู่มือ
แนวทาง
พยาบาลที่เหมาะสมกับภาวะสุขภาพความต้องการ
ของชุมชนและศักยภาพของชุมชน
แนวปฏิบัติการพยาบาล และมาตรฐานการใหบริการ
นิเทศ
สอนเป็นพี่เลี้ยงให้ความรู้แก่นักศึกษาพยาบาลและบุคคลอื่นๆ
ตามที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้างาน
เป็นวิทยากรอบรมให้ความรู้และฝึกทักษะ
การดูแลสุขภาพของบุคคลและชุมชน
ด้านการบริหารจัดการ
วางแผนการปฏิบัติงานในชุมชนให้สอดคล้องกับ
แผนปฏิบัติงานประจำเดือน ประจำปีของหน่วยงาน
จัดทีมให้บริการดูแลสุภาพอย่างต่อเนื่องเป็นทีมประจำ
ให้ความร่วมมือกับบุคลากร องค์กรอื่นๆ ในการสร้างทีมการดูแลสุขภาพตามความเชี่ยวชาญ
จัดทำแผนพัฒนาและติดตามการประเมินผลงาน
ด้านปริมาณและคุณภาพตามมาตรฐานโดยกระทรวง
และองค์กรวิชาชีพ
ด้านบริการ
ร่วมดำเนินการกับหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องในการจัดการกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและการเฝ้าระวังป้องกันโรค
ประสานงานกับหน่วยงานให้เข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนหรือจัดกิจกรรมสาธารณสุขตลอดจนการเสริมสร้างศักยภาพ
จัดทำระบบข้อมูลที่สามารถสืบค้นข้อมูลเพื่อการติดตามและการส่งต่อได้สะดวก
จัดทำแฟ้มครอบครัวและชุมชนเพื่อการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
เยี่ยมบ้านผู้ป่วยที่ต้องการการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
ให้บริการเชิงรุกที่ตอบสนองต่อความต้องการในการดูแลสุขภาพอย่างเป็นองค์รวมตลอดจนการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ
ปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้ความรู้และทักษะการพยาบาล
จัดบริการด้านสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคแก่ทุกอายุ ทุกเพศ ทุกวัย โดยเฉพาะในหญิงตั้งครรภ์ และเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี
ให้บริการการรักษาโรคเบื้องต้นได้ตามขอบเขตวิชาชีพ
ประสานความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ทีมสุขภาพในการวางแผนการดูแลต่อเนื่อง
ให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้รับริการเพื่อให้ผู้รับบริการสามารถนำความรู้ไปใช้ในการดูแลตนเองที่บ้านได้