Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน (3.การวางแผนโครงการ (วัตถุประสงค์ (SMART, ex…
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน
1.การประเมินชุมชน
การวิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นตอน
จัดระเบียบและวิเคราะห์
วางแผนแก้ปัญหา
การรวบรวมข้อมูล
การศึกษาปัญหา
การนำเสนอข้อมูล
บทความ แสดงถึงรายละเอียด เช่น กรณีศึกษา ประวัติศาสตร์ชุมชน
แผนภาพ/ภาพวาด เพื่อให้ข้อมูลน่าสนใจและเข้าใจ่าย
กราฟ ใช้กับข้อมูลที่ต่อเนื่อง แสดงความสัมพันธ์ต่างๆ
ตาราง ข้อมูลทีี่มีจำนวนมากและซ้ำๆกัน แสดงให้เข้าใจง่าย ชัดเจน เน้นรายการสำคัญ
กราฟเส้น แสดง 2 ตัวแปร แสดงแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงตามเวลา
กราฟแท่ง/แผนภูมิ ชุดข้อมูลหรือเป็นกลุ่ม เปรียบเทียบกัน
บทความกึ่งตาราง จัดหมวดหมู๋ที่เป็นบทความ ให้ชัดเจน เข้าใจง่าย
กราฟวงกลม ค่าทั้งหมดเป็นร้อยละ เปรียบเทียบข้อมูล
ฮิลโตแกรม ข้อมูลที่แจกแจงความถี่ เช่น สถิติการเกิดโรคทุก 5 ปี
การรวบรวมข้อมูล
ชนิดข้อมูล
เชิงปริมาณ:Quantitative data>>ความสูง น้ำหนัก อายุ
เชิงคุณภาพ:Quanlitative data>>ข้อมูลที่แสดงถึงสถานภาพ คุณ ลักษณะ เช่น เพศ เชื้อชาติ สถานสมรส
แหล่งข้อมูล
primary data:ได้จากแหล่งข้อมูลโดยตรง>>สำรวจ สังเกต สัมภาษณ์
Secondary data:ได้จากแหล่งที่มีการบันทึกข้อมูลไว้ เช่น ทะเบียนราษฎร์
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
2.การสัมภาษณ์ :explode:
ข้อดี ใช้ได้กับทุกคน ได้ข้อมูลเชิงลึก
ขอเสีย ใช้เวลา เปลืองค่าใช้จ่าย ข้อมูลที่ได้ขึ้นกับทักษะผู้สัมภาษณ์
1.การสังเกต
ข้อดี ได้ข้อมูลที่มีความเท็จจริง
ข้อเสีย ใช้เวลา เปลืองค่าใช้จ่าย
3.แบบสอบถาม
ข้อดี เก็บง่าย ข้อมูลทันนสมัย ตรงตามความต้องการ
ข้อเสีย อ่านหรือเขียนหนังสือไม่ได้ ไม่สามารถทำได้ :explode:
2.การวินิจฉัยชุมชนและการจัดลำดับความสำคัญ
2.1 การวินิจฉัยปัญหาอนามัยชุมชน (Identify problem)
ใช้หลัก 5 D
โรค(disease)
ควาามไม่สุขสบาย(discomfort)
พิการ(disability)
ความไม่พึงพอใจ(dissatisfaction)
ตาย(death)
:pencil2:หากพบเพีย 1D ก็ถือว่าเป็นปัญหา
เปรียบเทียบเกณฑ์ เช่น จปฐ. WHO
กระบวนการกลุ่ม โดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมตัดสินใจ
2.2 การจัดลำดับควาามสำคัญของปัญหา (Priority Setting)
2.3 การศึกษาสาเหตุของปัญหาอนามัยชุมชน
เมื่อจัดเรียงลำดับของปัญหาแล้ว จะทำการวิเคราะห์สาเหตุ หาข้อมูลสนับสนุน เพื่อให้รู้สาเหตุที่แท้จริง และปัจจัยส่งเสริม ที่ทำให้เกิดปัญหา :pencil2: วางแผนแก้ปัญหาตามความจริง
4.การดำเนินงานตามแผน
การทำแผนปฏิบัติงาน
ขั้นเตรียมงาน
เตรียมความพร้อมของทีม งบประมาณ การประชุม แบ่งงาน และการประชาสัมพันธ์
ขั้นดำเนินงาน
กำหนดกิจกรรม ปฏิบัติงานที่เกิดอย่่างต่อเนื่อง มีการควบคุมติดตาม
การปฏิบัติตามแผนงาน
นำเทคโนโลยีมาผสมผสาน
จัดบริการต่างๆ ให้ครอบคลุมผู้รับริการ
ผสมผสานการทำงงานหลายหน่วยงานเข้าด้วยกัน
กระตุ้นให้ปชช. มีส่วนร่วม
5.การประเมินผล
ความก้าวหน้า
ประเมินการดำำเนินงานว่าเป็นไปตามผังควบคุมกำกับเวลาหรือไม่
ผลกระทบ
ผลดี เช่น มีประโยชน์ มีรายได้เพิ่มขึ้น
ผลเสีย เช่น เกิดอุบัติเหตุระหว่างจัดโครงการ
ความสอดคคล้อง
วิธีการดำเนินงานแก้ไขได้จริงหรือไม่
ประสิทธิผล
เปรียบเทียบจากวัตถุประสงค์
ประเมิน :explode:
(ร้อยละที่ทำได้x100)/ร้อยละที่ตั้งไว้
ประสิทธิภาพ
เปรียบเทียบราคา กำลังคน เวลา ดูความค้มค่า
3.การวางแผนโครงการ
แผนการดำนินงาน
กิจกรรมต้องสอดคล้องกับวิถีชีวิตและสภาพความเป็นอยู่ในพื้นที่
วัตถุประสงค์
SMART
ex.ปชก. อายุ35ปี ขึ้นไป มารับการตรวจ
คัดกรองเบาหวานในระยะเวลา 3 เดือน
เป้าหมาย
เขียนเป็นภาพรวมกว้างๆ
ผังกำกับเวลา
ปฏิทินโรงการ
กลุ่มเป้าหมาย สถานที่ และระยะเวลา
ทำที่ไหน เริ่มต้นและจบเมื่อไร กลุ่มเป้าหมาย
งบประมาณ
หน่อวยงานที่รับผิดชอบ
ระบุให้ครบ และแจงให้ชัดเจนในส่วนที่เข้ามามีส่วนร่วม
แหล่งประโยชน์
ชื่อโครงการ
สั้น ง่าย กระชับ สอดคล้องเป้าหมาย
วิธีกาารประเมินผล
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
นอกเหนือจากวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ :!: